Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น - Coggle Diagram
หลักการเขียนแสดงความคิดเห็น
การเขียนแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อต่างๆ (๙)
การเขียนแสดงความคิดเห็นผ่านสื่อสังคมปัจจุบันพบเห็นได้เป็นเรื่องปกติ เช่น
·หนังสือพิมพ์
·โทรทัศน์
·สื่ออินเตอร์เน็ต (๙)
การแสดงความคิดเห็นมักแสดงออกในรูปของบทความที่ผู่เขียนหยิบยกปัญหาสังคมขณะนี้มาเขียน (๒๐)
ปัญหาส่วนรวม เช่น
ปัญหาเศรษฐกิจ
การศึกษา
การเมือง การปกครอง
ปัญหาส่วนบุกคล เช่น
การป้องกันอาชญากรรม
การรักษาความปลอดภัย
การเขียนแสดงความคิดเห็น(๑๘)
๑.ลักษณะของการเขียนแสดงความติดเห็น
๑.๑.ผู้เขียนเป็นผู้แสดงความคิดเห็นของตนเอง
๑.๒.เขียนโต็ตอบหรือโต้แย้งกับความคิดของผู้อื่น(๑๘)
โครงสร้างของการแสดงความคิดเห็น(๑๘)
การแสดงความคิดเห็น(๑๘)
ที่มา(๑๘)
ข้อสนับสนุน(๑๘)
ข้อสรุป(๑๘
ลักษณะของการเเสดงความคิดเห็น
การสนับสนุน คือการนำเหตุผมที่ทำไมเราถึงสนับสนุน
บทความหรือข่าว
การโต้เเย้งคัดค้าน คือผู้เเสดงความคิดเห็นไม่เห็นด้วยใช้เหตุประกอบเเสดงความคิดเห็นคัดค้าน
การวิพากย์วิจารณ์ คือการบอกว่าสิ่งนี้ดีหรือสิ่งนี้ไม่ดีเเต่ต้องวางตัวให้เป็นกลาง
การให้รายละเอียดเพิ่มเติม คือเป็นการเเสดงความคิดเห็นเพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์ครบท้วน
การตั้งประเด็นเป็นข้อสังเกต คือการเเสดงความคิดเห็นเป็นประเด็นเพื่อให้อ่านง่ายเเละชัดเจน
การเปรียบเทียบ คือการนำประเด็น2ประเด็นมาเปรียบเทียบกันทำให้ผู้อ่านมีจินตนาการตามเเล้วเข้าใจเนื้อหาได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
ด.ช.ภูวเดช เรืองดิษฐ์ เลขที่๑๘ ม.๒/๒ (สีเขียว)
ด.ช.ณัฐพันธุ์ ชาบัญ เลขที่ ๙ ม.๒/๒ (สีฟ้า)
ด.ช.สิทธา ธรรมชัย เลขที่๒๐ ม.๒/๒ (สีม่วง)
ด.ช.พงศ์เศรษฐ์ เรืองวิทยานุสรณ์ ม.๒/๒ เลขที่13(สีเหลือง)
ด.ช.กฤษฏี พินิจมนตรี ม.๒/๒ เลขที่ ๓