Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนที่ใชเเละองค์ประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร, น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่…
ส่วนที่ใชเเละองค์ประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร
สมุนไพรเพื่อความงาม
เวชสำอาง คือ
"เวชสำอาง" แปลมาจาก คำว่า “Cosmeceutical products” มีความหมายเดียวกับผลิตภัณฑ์ที่จัดอยู่ในกลุ่ม “quasidrug” ของญี่ปุ่น (ญี่ปุ่นมี regulation เฉพาะหรับผลิตภัณฑ์กลุ่มนี้)
“เครื่องสำอาง” หมายถึง สิ่งปรุง รวมทั้งเครื่องหอม และสารหอมต่าง ๆ ที่ใช้บนผิวหนัง
สมุนไพรกับการใช้ในเวชสำอาง
Antipollution
Hair codmetic
Anti-aging
Nutricosmetic
Anti-acne
Anti-acne
สมุนไพรรักษาสิว
มะกรูด
ไพล
ว่านหางจระเข้
ชาเขียว
เปลือกมังคุด
Anti aging
สารสกัดจากรำข้าว
เพิ่มความยืดหยุ่นของเซลล์ที่แก้ม
ช่วยเพิ่มไขมันผิวหนังบริเวณหน้าผาก
เพิ่มความชุ่มชื้นผิว
ผลเเตงกวา
น้ำคั้นผสมลงในผลิตภัณฑ์มาร์คหน้า
ทําให้การไหลเวียนการดูดซึมสารอาหารบนใบหน้าดีขึ้น
ผิวหน้าชุ่มชื้น
น้ำจากผลเเเตงกวาในครีมบำรุงหน้า
ผิวหน้าชุ่มชื้น อ่อนละมุน ขาวขึ้น
บัวบก
เจล ช่วยให้ผิวยืดหยุ่นเเละกระชับ
ครีม ลดการหน่อนคล้อยของผิว เเละจุดด่างดำของใบหน้า
ลิปสติก ลดความลึกเเละรอยย่นบนริมฝีปาก
ผลของมะขามป้อม
ฤทธิ์กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน
ลดเรือนริ้วรอย
ว่านหางจระเข้
ลดรอยเหี่ยวย่น
ลดจุดด่างดำ
เพิ่มความชุ่มชื้นใหกับผิว
Anti pollution
ป้องกันการเสื่อมสภาพจากมลภาวะ
5.เพิ่มการต้านอนุมูลอิสระ
6.ลดการอักเสบ
4.ลดการสูญเสียน้ำ เเละเพิ่มความชุ่มชื้นของผิว
7.ควบคุมการสร้างเม็ดสีผิว
3.ฟื้นฟูและเสริมสร้างโครงสร้างและการทํางานของระบบป้องกันผิว
8.เพิ่มกรสรางคอลลาเจน / อีลาสติน
2.ป้องกันการสะสม การซึมผ่านของสารมลพิษบนผิวหนัง
9.ปกป้องกันผิวจากรังสียูวี
1.ทําความสะอาด ขัดผิว เพื่อลดมลพิษที่ติดค้างบนผิว
Whitenning
สารสกัดโกฐนาเต้า
สารสกัดใบหม่อน
ชะเอมเทศ
สารสกัดมะหาด
Hair Cosmetic
ขิง ยับยั้งการงอกของเส้นผม
รักษารังเเคจากเชื้อรา
ทำให้ผมหงอก
มะกรูด
ใบบัวบก
ว่านมาเมฆ
อัญชัน
Nutri cosmetic
อาหารกับผิวสวย
ผัก ผลไม้สีแดง/เหลือง ชว่ยป้องกัน UV
ผักใบเขียว ลดริ้วรอยเหี่ยวย่น
ถั่วเหลือง ยับยั้งเอนไซม์ที่ทําลายเซลล์ผิวหนัง
ถั่วเมล็ด กรดไขมัน ชว่ยสร้างคอลลาเจน และ hyaluronic acid
สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคผิวหนัง
กำจัดเหา
น้อยหน่า
ใบน้อยหน่าสด
เมล็ดน้อยหน่า
ครีมเมล็ดน้อยหน่า
รักษาเเผลสด
ขมิ้นชัน
ยาครีมบัวบก
มะขาม
ยาน้ำเปลือกมังคุด
รักษาเเผลเรื้อรังจากการฉายเเสงรังสี
ว่านหางจระเข้
ยาสารละลายพญายอ
รักษาผื่นคัน ลมพิษ
พลู
ยาเจลพลู
หญ้าคา
ยาคาลาไมน์พญายอ
รักษาผิวหนัง น้ำเหลืองเสีย
เหงือกปลาหมอ
ขมิ้นชัน
รักษากลากเกลื้อน
ข่า
ชุมเห็ดเทศ
กระเทียม
ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง
ขมิ้นชัน
รักษาเริม งูสวัด
พญายอ
ยาครีมพญายอ
ตำลึง
ยาทิงเจอร์พญายอ
เเก้พิษเเมลงสัตว์กัดต่อย
พญายอ
ยาโลชั่น / ยาหม่อพญายอ
ขมิ้นชัน
ยาทิงเจอร์พลู
ผักบุ้งทะเล
ตำลึง
อันตกิริยาของยาสมุนไพร
อันตรกิริยาทางด้านพลศาสตร์
คือปฏิกิริยาที่มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชวีเคมีและสรีรวิทยา แต่ไม่มีผลต่อระดับความเข้มขนของยาในร่างกาย
การออกฤทธิ์ต้านกัน
การออกฤทธิ์เสริมกัน
อันตรกิริยาทางด้านจลศาสตร์
ปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกติทั้งในเลือด เนื้อเยื่อหรือตําแหน่งยาที่ออกฤทธิ์
การดูดซึมยา
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน
เพิ่มการเคลื่นที่ผ่านทางเดินอาหาร
ลดการดูดซึม
เปลี่ยนเเปลงระดับ pH
เพิ่มการดูดซึม
การกระจายา
การจับตัวของยา
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ
การเปลี่ยนเเปลงยา
การขับยาออกจากร่างกาย
ปฏิกิรยิาทางเภสัชวิทยาระหว่างกันของสารทั้งสองชนิดทั้งในแง่ของการเปลี่ยนแปลงระดับของยาในร่างกายการต้านฤทธิ์
การเสริมฤทธิ์การเพิ่มหรือลดผลข้างเคียงของยา การเกิดพิษ หรืออาจทำให้เกิดฤทธิ์ใหม่
แนวทางการป้องกันอันตรกิริยาของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริม อาหารกับยาแผนปัจจุบัน
3.อันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารบางชนิดสามารถป้องกันได้
4.การสอบถามถึงอาการไม่พึงประสงค์จากอันตรกิริยาระหว่างยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมที่อาจจะเกิดขึ้นในผู้ป่วยที่ดูแลเป็นประจำจะทำให้ทราบถึงปัญหาอย่างทันท่วงที
2.การทราบถึงชื่อวิทยาศาสตร์ชื่อสามัญชื่อท้องถิ่นหรือชื่อพ้องของสมุนไพร
และส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์เสริมอาหารแต่ละชนิดจะทำให้สื่อสารกับผู้ป่วยหรือผู้บริโภคได้ดีขึ้น
5.การจัดฐานข้อมูลอันตรกิริยาระหว่างยาสมุนไพรกับผลิตภัณฑ์เสริม
1.Medical herbal and dietary supplement reconciliation
จะทำให้ทราบถึงยา สมุนไพร และผลิตภัณฑ์เสริมอาหารทั้งหมดที่ผู้ป่วยได้รับ
6.การใช้ยาอย่างสมเหตุผล พยายามสั่งใช้ยาเฉพาะที่จำเป็นกับผู้ป่วย
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาเเก้ไอ ขับเสมหะ
ไอเเละระคายเคืองจากเสมหะ
มะขามป้อม
มาขาม
เพกา
มะเเว้งเครือ
ดีปลี
มะเเว้งต้น
ขิง
มะนาว
สมุนไพรที่เป็นยารักษากระดูกเเละกล้ามเนื้อ
ลูกประคบ
คือ สิ่งที่เกิดจากภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษที่ใช้พืชสมุนไพรในท้องถิ่นนํามาใช้ในการรักษา/ช่วยไหลเวียนของโลหิต
ส่วนประกอบ
ว่านนางคํา ขมิ้น อ้อย ว่านน้ำ ใบมะขาม เปลือกชะลูด
ขมิ้นชัน ตระไคร้บ้าน ผิวมะกรูด เหง้าไพล
ใบส้มป่อย เกลือแกง การบูร พิมเสน ขิงสด
ใช้เเทนยาปัจจุบัน
ไพล
สหัสธารา
เถาวัลย์เปรียง
เจลพริก
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม
ท้องอืด
ขิง
ยาเบญจกูล : ดอกดีปลีรากช้าพลูเถาสะค้าน รากเจตมูลเพลิง ขิง
ขมิ้นชัน
ยาธาตุอบเชย : อบเชยเทศ ชะเอมเทศ กานพลูเปลือกสมุลแว้ง กระวานเมนทอล การบูร
โรคกระเพาะอาหาร
ขมิ้นชัน กล้วยน้ำว้า
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไข้
บอระเพ็ด
ฟ้าทะลายโจร
ยาจันทน์ลีลา : โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา แก่นจันทน์ ขาว แก่นจันทน์แดง เถาบอระเพ็ด ลูกกระดอม รากปลาไหลเผือก พิมเสน
สมุนไพรที่ใช้ขับปัสสาวะ
ขัดเบา
สับปะรด
หญ้าคา
ตระไคร้
หญ้าหนวดเเมว
ขลู่
อ้อยเเดง
กระเจี๊ยบเเดง
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
มังคุด
สีเสียดเหนือ
ทับทิม
ยาเหลืองปิดสมุทร
ฟ้าทะลายโจร
ยาธาตุบรรจบ
กล้วยน้ำหว้า
ผงถ่าน
ฝรั่ง
ยาผงกล้วย
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาระบาย
ท้องผูก
ขี้เหล็ก
คูน
เเมงลัก
ขิง
มะขามเเขก
กะเพรา
มะขาม
ยอ
ชุมเห็ดเทศ
ยาบรรเทาท้องผูก
ยาธรณีสัณฑะฆาต
ยาชุมเห็ดเทศ
ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง
ยามะขามเเขก
สมุนไพรที่ใช้ขับพยาธิ
พยาธิลำไส้
มะหาด
มะขาม
มะเกลือ
เล็บมือนาง
ฟักทอง
สะเเก
การใช้กัญชาในทางการแพทย์
ตำรับเเผนไทยที่มีกัญชา
9.ยาเเก้โรคจิต
10.ยามอัมฤตโอรส
8.ยาเเก้นอนไม่หลับ / ยาเเก้ไขผอมเหลือง
11.ยาไพศาล
7.ยาเเก้สัณฑฆาต กล่อนเเห้ง
12.ยาอไภยสากล
6.ยาเเก้ลมเนาวนารีวาโย
13.ยาทำลายพระสุเมร
5.ยาไฟอาวุธ
14.ยาเเก้ลมเเก้เส้น
4.ยาศุขไสยาศน
15.ยทัพยาธิคุณ
3.ยาเเก้ลมขึ้นเบื้องสูง
16.ยาทาริดสีดวงทวารหนักเเละโรคผิวหนัง
2.ยาอัคคินิวคณะ
ยาน้ำมันสนั่นไตรภพ
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชา
การขุดค้นพบโครงกระดูกมนุษย์อายุราว 10,000 ปี อยู่คู่กับเศษเรซินของกัญชาที่หลงเหลือจากการเผาไหม้ของกองไฟ
และเครื่องปั้นดินเผาบรรจุเมล็ดกัญชาทีด้านในสุดของถาในเอเชียกลาง
กัญชา คือ พืชออกฤทธิ์ต่อ จิตประสาทชนิดแรก
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชาทางการแพทย์
ในช่วงเวลา 8,000 ก่อนครสิตกาล
กัญชาถูกบันทึกว่า เป็นพืชไรที่เก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่งมีการใช้ประโยชน์จากเส้นใย
ก่อนคริสตกาล ในยุคเดียวกันนั้นมีการบันทึกการใช้กัญชาในตํารับยาโบราณของอินเดีย
ประวัติการใช้กัญชาในสยามประเทศ
มีบันทึกว่าตํารับยาที่มีกัญชาผสมอยู่นั้นสามาช่วยให้นอนหลับได้
ตํารับยาไทยทีมีส่วนผสมกัญชานั้น มักจะผสมพริกไทยเพื่อขับลมออกด้วย
การใช้กัญชาในนานาประเทศ
สหรัฐอเมริกา อนุญาตใหใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แล้วทั้งหมด 33 จากทั้งหมด 50 รัฐ
รัฐบาลอุรุกวัย ได้อนุญาตให้มีการขายกัญชาเพื่อสันทนาการตามร้านขายยาได้อย่างถูกกฎหมายเป็นชาติแรกในโลก หลังผ่านกฎหมายเสพกัญชาอย่างถูกกฎหมายมาตั้งเเต่ปี 2017
เกาหลีใต้มีการอนญุาตใหใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แต่มีการควบคุมอย่างเคร่งครัด
แคนาดา เป็นประเทศที่คึกคักที่สุดของธุรกิจกัญชามีทั้งเปิดใหค้นใช้เพื่อผ่อนคลายอารมณ์และเปิดให้บริษัทเอกชนปลูก
สหราชอาณาจักร มีการอนุญาตให้ใช้กัญชาในทางการแพทย์ได้แล้วตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2018
เลโซโท ประเทศแรกในทวีปี แอฟริกันที อนุญาตให้มีการเพาะปลูกกัญชาเพื่อใช้ในทางการแพทย์ได้อย่างถูกกฎหมาย
ออสเตรเลีย กําหนดให้การใช้กัญชาเพื่อการแพทย์ถูกกฎหมาย ตั้งแต่ปี 2016
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับกัญชาในประเทศไทย
พรบ ยาเสพติดให้โทษ พศ 2562อนุญาตใหใช้ประโยชน์จากกัญชาและกระท่อมเพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ในการรักษาผู้ป่วยหรอืการศึกษาวิจัยและพัฒนาภายใต้การควบคุมดูแลของผู้เชี่ยวชาญตามมาตรฐานผู้ประกอบวชาชีพ ตามที่ได้ระบุในกฎหมายเท่านั้น
มาตรา 76/1
มาตรา 22
มาตรา 26/3
เภสัชพฤกษศาสตร์ของกัญชา
ผิวทุกส่วนบนต้นกัญชาจะมีขนมีต่อมลักษณะคล้ายเรซินใสที่เรียกว่า "ไตรโคม"
3 สายพัธุ์ที่พบบ่อย
Cannabis indica
่Cannabis rudealis
Cannabis sativa (พบมากในไทย)
เภสัชวิทยากัญชา
ออกฤทธิ์โดยการเชื่อมต่อกับ cannabinoid receptor การเข้าไปกระตุ้น receptorsต่างๆ
Endocannabinoids
ในร่างกายเป็นส่วนประกอบทางเคมีที่ร่างกายมนษุย์และสัตว์สร้างขึ้นได้เองตามธรรมชาติ
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ที่ได้ประโยชน์
โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยายารักษา
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมเเข็ง
4.ภาวะปวดประสาท
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบําบัด
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์น่าจะได้ประโยชน์
(ในการควบคุมอาการ)
3.โรคพาร์กินสัน
4.โรคอัลไซเมอร์
2.ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
5.โรควิตกกังวลไปทั่ว
1.ผู้ป่วยที่ได้รับการดูเเลประคับประคอง
6.โรคปลอกประสาทอักเสบ
สมุนไพรใช้เเต่งสี
สีผสมอาหารจากธรรมชาติ
สีน้ำตาล
โกโก้
สีเเดง
ข้าวเเดง
ถั่วเเดง
ฝาง
หัวบีทรูท
กระเจี๊ยบเเดง
ครั่ง
สีส้ม
เเครอท
ส้มเขียวหวาน
สีเขียว
ใบเตย
สีม่วง
ผักปลัง
ข้าวเหนียวดำ
ดอกอัญชัน
สีเหลือง
ฟักทอง
ลูกตาล
มันเทศ
ดอกกรรณิการ์
พุด
ขมิ้น
หญ้าฝรั่ง
ดอกคำฝอย
คำเเสด
สีดำ
กาบมะพร้าว
ถั่วดำ
สมุนไพรไล่เเมลงเเละสัตว์
ไล่หมัด
น้อยหน่า
สะเดา
มะขาม
ไพร
มะคำดีควาย
ไล่ยุง
โหระพา
เปลือกส้ม
ตะไคร้หอม
โหระพา
ไล่เหา
กะเพรา
ขมิ้น
ผักเสี้ยน
ตะไคร้หอม
น้อยหน่า
มะกรูด
หนอนตายหมาก
ไพริทรัม
บุคาลิปคัส
ไล่มด
พริกไทยป่น
ขมิ้น
หน่อไม้ดอง
พริกสด
ผิวมะกรูด
ไล่หนู
ใบพลู
มะกรูด
น้ำมันระกำ
ยี่โถ
น้ำมันสะระเเหน่
ไล่ปลวก
ตะไคร้
กระเทียม
ข่า
ใบขี้เหล็ก
เกลือ
ไล่จิ้งจก
ใบสาบเสือ
ใบน้อยหน่า
ไล่เเมลงมุม
ใบกระวานเเห้ง
ก้านพลู
เปปเปอร์มิ้นท์
พริกไทย
เกลือเกาลัด
เกลือ
ส้ม
ไล่เเมลงสาบ
ใบน้อยหน่า
ใบสาบเสือ
พลู
กระเทียม
ไล่เเมลงวัน
น้ำส้มสายชู
ผักกลิ่นฉุน
กระเทียม
หอมเเดง
ต้นหอม
หอมใหญ่
เปลือกส้ม
ตะไคร้หอม
ไล่เเมลงหวี่
ใบหางนกยูง
ดอกดาวเรือง
กาบมะพร้าว
ตะไคร้
ไล่ตั๊กเเตน
สะเดา
เลียน
น้อยหน่า
ไล่เพลี๊ยะอ่อน
สาบเสือ
สะเดา
ยหูบ
หางไพลเเดง
ไล่เพลี๊ยะเเข็ง
น้ำยาล้างจาน
พริกสด
ไล่มอด
กาหะนุจ
พริกไทยดำ
กระวาน
พริกเเห้ง
กะเพรา
ใบมะกรูดสด
พืชมีพิษ
พืชที่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
พืชมียาง
โป้ยเซียน
พืชที่มีเอมไซม์
สัปปะรด
พืชที่มีขน
ตำเชย
พืชที่ calcium oralates
กระดาด
พิษต่อระบบหลอดเลือดเเละหัวใจ
พืชที่มีสารไซยาโนจินิคไกลไซด์
มันสำปะหลัง
พืชที่มีสารกลุ่มคเร็ด์เเอคไกลโครไซด์
รำเพย
บานบุรีสีเหลือง
ยี่โถ
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ
ลุกเนียง
ฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
กลุ่มมีฤทธิ์ทำให้ประสาทหลอน
จันทน์เทศ
ลำโพง
กัญชา
กลอย
กลุ่มมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง
พืชวงศ์ solanaeae
solubleoxalate
กลุ่มมีฤทธิ์ทำให้ชัก
เมล็ดเเสลงใจ
หัวกลอย
ผลเลี่ยน
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
กลุ่มที่มีผลระคายเคืองกระเพาะอาหาร
พลับพลึง
Narcissus
กลุ่มที่มีผลระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
เทียนหยด
มันเเกว
มะเนียงน้ำ
ก้ามปู
กลุ่มที่มีผลต่อเยื่อบุปากเเละลำคอ
บอน
เผือก
บุก Arisaema spp
สาวน้อยปะเเป้ง
กระดาด Alocasia spp
กลุ่มที่ทำใหกระเพาะเเละลำไส้อักเสบ
พืชที่มีสารพิษ toxal bumins
น.ส.ประภัสสร สำเภาทอง เลขที่ 45 รหัสนักศึกษา 62111301047