Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจร่างกายระบบประสาท (Nervous System), นางสาวพวงเพชร ภูสีเขียว…
การตรวจร่างกายระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุม
1.การรับความรู้สึก ทำโดยอาศัยตัวรับความรู้สึกบริเวณผิวหนัง กล้ามเนื้อ ข้อต่อ อวัยวะภายในลูกตา จมูก ลิ้น หู
วิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้รับจากภายนอกร่างกายเข้ามาทางประสาทรับความรู้สึกแปลผล ตัดสิ้นใจและส่งต่อข้อมูล
3.การสั่งงานและควบคุมการทำงานของร่างกาย ทำโดยการรับสัญญาญจากระบบประสาทส่วนกลางส่งไปอวัยวะต่างๆของร่างกาย
การตรวจร่างกายระบบประสาท สิ่งที่ต้องทำการตรวจ
การตรวจทั่วไปเช่น การเดิน ลักษณะที่แสดงอกก
การตรวจระดับความรู้สึกตัว (conciousness)หรือระดับการรับรู้สติการรับรู้วันเวลา สถานที่ บุคคล สติปัญญา ความจำ อารมณ์ ความคิด การตัดสินใจการพูดและการใช้ภาษา
การตรวจประสาทสมอง 12 คู่ (cranial nerve)
การตรวจระบบประสาทสมองมอเตอร์ ( motor system)หรือการเคลื่อนไหว
การตรวจระบบประสาทรับรู้สึก ( sensory system)
การตรวจปฏิกิริยาตอบสนอง(Reflexes)
การตรวจการทำงานประสานกัน
ระดับความรู้สึกตัว
Alert
ระดับความรู้สึกตัวปกติ เหมือนคนปกติทั่วไป
Drawsiness
ระดับความรู้สึกซึมลง อยากหลับต้องปลุกเรียก แต่ยังพูดรู้เรื่อง
Confuse
ระดับความรู้สึกซึมลงมาก พูดจาไม่ค่อยรู้เรื่อง ไม่รู้จักเวลาสถานที่ และบุคคลที่เรียกว่า Disorientation
Delirium
ระดับความรู้สึกจะเอะอะอาละวาดมากขึ้น หงุดหงิดตอบคำถามไม่ได้ บางครั้งต้องจับมัดไว้
Stupor
ระดับความรู้สึกซึมมาก ต้องปลุกแรงๆลืมตาปัด แล้วหลับต่อบางทีเรียกว่า semicoma
Coma
ระดับความรู้สึกไม่รู้สึกตัว ไม่มีการตอบสนองต่อแรงกระตุ้นใดๆ
การตรวจประสาทสมอง
ประสาทสมองคู่ที่ 1 Olfactory Nerve
มีหน้าที่ในการดมกลิ่น (Smell) ให้ผู้ป่วยหลับตาให้ดมกลิ่นแล้วบอก
ประสาทสมองคู่ที่ 2 Optic nerve
มีหน้าที่เกี่ยวกับการมองเห็น รับแสง สี และภาพ การตรวจประสาทคู่นี้สื่งที่ต้องทำการตรวจ
การตรวจวัดสายตา เป็นการตรวจความผิดปกติของสายตา วิธีตรวจ ทำได้โดยใช้การให้ผู้ป่วยหนังสือ หรืออ่าน Snellen chart
การตรวจลานสายตา (Visual Field) เป็นการตรวจความสามารถในการมองได้กว้างมากน้อยเท่าใด เช่น ใช้วิธีการแบบเผชิญหน้า โดยให้พยาบาลและผู้รับบริการหันหน้าหากันห่างกันประมาณ 3 ฟุต จ้องมองจมูกของกันและกัน ปิดตาด้านตรงกันข้ามกัน พยาบาลค่อยๆกระดกนิ้วจากนอกลานสายด้านบน ล่าง ด้านนอกค่อยๆเคลื่อนวัตถุหรือนิ้ว หากผู้ป่วยมองไม่เห็นพร้อม ถือว่าลานสายตาผิดปกติ
การตรวจจอตา Funduscopoic examination พยาบาลใช้เครื่องตรวจตาขวาของผู้รับบริการ พยาบาลจับเครื่องมือด้วยมือขวาให้นิ้วมือทาบอยูู่บนแป้นปรับระดับความคมมชัด จับเครื่องมือห่างจากตาผู้รับบริการประมาณ 10 นิ้ว เยื้องไปด้านข้างประมาณ 15 องศา ควรตรวงในห้องที่มีแสงค่อนข้างมืดเพื่อให้ม่านตาของผู้รับบริการมองตรงไปข้างหน้านิ่งๆไกลๆพยาบาลมองผ่านรูของ Ophthalmoscope ตรงไปยัง Pupil สังเกตแสงสีส้ม
ประสาทสมองคู่ที่3 Oculomotor nerve,คู่ที่ 4 Trochlear nerve,คู่ที่ 6 Abducens nerve
การทำงานของประสาททั้ง 3 คู่นี้ จะทำงานประสานพร้อมๆกัน มีหน้าที่เกี่ยวกับการไม่เท่ากัน สาเหตุจากความผิดปิกติของประสาทสมองคู่ที่ 3 พบในโรคม่านตาอักเสบ
ประสาทสมองคู่ที่ 5 Trigeminal nerve
เป็นการตรวจความรู้สึกเจ็บ ความรู้สึกสัมผัส และกล้ามเนื้อการเคี้ยว
ประสาทสมองคู่ที่ 7 Facial Nerve
การตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oculi โดยให้ผู้ป่วยหลับตาตามปกติก่อนในคนปกติจะหลับตาได้สนิท ในรายที่ผิดปกติจะมองเห็นตาขาว จากนั้นผู้ตรวจใช้นิ้วพยายามเปิดตาผู้ป่วย ปกติจะไม่สามารถเปิดตาได้
การตรวจกล้ามเนื้อ Zygomaticus โดยให้ผู้ป่วยยิงฟันให้เต็มที่ ผู้ตรวจดูการยกของมุมปาก
การตรวจกล้ามเนื้อ Orbicularis Oris โดยให้ผู้ป่วยเป่าแก้มทั้งสองข้าง ทำปากจู๋ และผิวปาก
ประสาทสมองคู่ที่ 8 Auditory Nerve
การตรวจหน้าที่ของการได้ยินและฟัง โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Tuning Fork ช่วยตรวจมี 2 วิธี คือ Air condition และ Bone conduction
ประสาทสมองคู่ที่ 9 และ 10 Glossopharyngeal and Vagus Nerve
มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของลิ้นไก่ เพนดานปาก หลอดคอ กล่องเสียง การหลั่งน้ำลาย และการรับรสที่โคนลิ้น
ให้ผู้ป่วยร้อง อา พยาบาลสังเกตการยกตัวของลิ้นไก่จะยกขึ้นในแนวตรง
ทดสอบ Gag reflex โยใช้ไม้กดลิ้นแตะผนังคอหรือโคนลิ้น ปกติจะมีการขย้อน
ประสาทสมองที่ 11 Accessory Nerve
หน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ Sternocleidomastiod และส่วนบนของ Traprzius muscle
วิธีการตรวจ ให้ผู้ป่วยหันหน้าไปด้านหนึ่ง ผู้ป่วยพยายามดันคางกลับทางเดิม ในคนปกติจะต้านแรงผู้ตรวจแรงผู้ตรวจได้ และจะเห็นกล้ามเนื้อSternocleidomastiod เกร็จตัวชัดเจน
วิธีการตรวจกล้ามเนื้อ Traprzius ให้ผู้ป่วยนั่งหรือยืนตัวตรงๆสังเกตระดับไหล่ว่าเท่ากันหรือไม่ กล้ามเนื้อลีบว่ากันหรือไม่ ผู้ตรวจกดไหล่ของผู้ป่วย เพื่อดูกำลังของกล้ามเนื้อ
ประสาทสมองคู่ที่ 12 Hypoglossal Nerve
ผู้รับบริการอ้าปากแลบลิ้นเข้าออกเร็วๆพร้อมตวัดลิ้นไปมา สังเกตขนาดและลักษณะของลิ้น ถ้าลิ้นเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง เเสดงว่าผิดปกติ
MOTOR RESPONSE
Obeys commands ทำตามคำสั่งถูกต้อง(6)
Localizes pain เมื่อกระตุ้นให้เจ็บปัดถูกตำแหน่ง (5)
Flexion withdrawal ขยับแขนหนีเมื่อเจ็บมากๆ (4)
Flexion abnormal (Decorticate rigidity) เมือกระตุ้นให้เจ็บไม่สามารถปัดได้แต่งอแขนเข้าหาตัวทั้ง 2 ข้าง (3)
Extension (Decerebrate rigidity) เหยียดแขนออกทั้ง 2 ข้างเมื่อเจ็บ (2)
None ไม่ขยับเมื่อเจ็บ (1)
ระดับวามรุนแรง
13-15 รุนแรงระดับต่ำ
9-12 รุนแรงระดับปานกลาง
3-8 รุนแรงระดับมาก ต้องได้รับ
การช่วยเหลือโดยเร่งด่วน
การตรวจแขนขาและลำตัว
ไม่มีการเคลื่อนไหวเลย = 0
เคลื่อนไหวได้เพียงพอมองเห นได้ พบการหดตัวของกล้ามเนื้อ = 1
เคลื่อนไหวได้เพียงแนวราบไม่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงของโลก = 2
เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงโลกได้แต่ต้านแรงผู้ตรวจไม่ได้ =3
สามารถต้านแรงผู้ตรวจได้แต่ไม่เต็มที่ = 4
สามารถเคลื่อนไหวต้านแรงผู้ตรวจได้เต็มที่เป็นปกติ = 5
นางสาวพวงเพชร ภูสีเขียว รหัส62123301094 เลขที่ 44 ห้อง 2B