Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน - Coggle Diagram
บทที่ 11 การจัดการปัญหาเฉพาะที่เกิดขึ้นในชั้นเรียน
อะไรคือสัญญาณบ่งบอกว่าผู้เรียนคนใดมีภาวะ ADHD?
การขาดความตั้งใจ
มักประสบปัญหาในการจดจ่อกับงานหรือกิจกรรมที่ทํา
มักไม่ฟังเมื่อมีคนมาพูดคุยด้วยโดยตรง
มักไม่ปฏิบัติตามคําสั่งและไม่สามารถทํางานที่โรงเรียนได้
มักทําสิ่งของที่จําเป็นต้องใช้ในการทํางานหรือกิจกรรมหาย
มักหันเหความสนใจไปตามสิ่งเร้าจากภายนอกได้ง่าย
มักหลงลืมเกี่ยวกับกิจกรรมที่ต้องทําประจําวัน
ความลุกลี้ลุกลน
" มือและเท้ามักอยู่ไม่สุขและมักนั่งขยุกขยิกบนเก้าอี้
มักลนลานตลอดเวลาและทําตัวเหมือนว่าถูกขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์
" มักพูดคุยไม่หยุด
" มักไม่นั่งอยู่ประจําที่ในชั้นเรียน
ความหุนหัน
" มักโพล่งตอบออกมาก่อนที่จะฟังคําถามจบ
" มักประสบปัญหาในการรอคอย
" มักพูดแทรกผู้อื่น
อะไรเป็นสาเหตุให้เกิด ADHD?
ADHD เป็นผลมาจากการปฏิสัมพันธ์ที่ซับซ้อนของปัจจัยเสี่ยงทางพันธุกรรม ชีววิทยาและสิ่งแวดล้อม - Metcalfe และ Alban-Metcalfe, 2001) ซึ่งนําไปสู่ความไม่สมดุลทางเคมีในสมองที่ก่อให้เกิดความ ผิดปกติของความสามารถในการตั้งใจได้
การจัดการกับ ADHD?
1.การศึกษาและการเข้าใจใน ADHD
2.การจัดการทางพฤติกรรม (ที่บ้านและที่โรงเรียน)
3.การจัดการศึกษาที่เหมาะสม
4.การบําบัดทางการแพทย์ (ในบางกรณี)
กลยุทธ์ที่ครูจะนํามาใช้ในการจัดการกับผู้เรียน
ใช้กลยุทธ์แบบตัวต่อตัว
วางแผนการสอนให้ตรงกับความสนใจของผู้เรียน
ระบุถึงการสําคัญตนที่ผิด
ช่วยให้พวกเขาประสบความสําเร็จ
ติดต่อผู้ปกครองของผู้เรียน
ความรู้สึกส่วนตัวของครู
•ความเป็นห่วงอย่างแท้จริงและความอบอุ่น
• ความเอาใจใส่
•ความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีของนักเรียน
• ความบากบั่นและไม่ย่อท้อ
•การควบคุมตนเอง
• อารมณ์ขัน
•ความอดทนและอดกลั้น
กลยุทธ์ที่ครูจะนําไปใช้จัดการกับปัญหาด้านพฤติกรรมในการไม่ตั้งใจ
• จัดที่นั่งให้ผู้เรียนได้นั่งหน้าชั้นเรียนใกล้ ๆ กับครู
• ให้ผู้เรียนเอาใจใส่กับงานที่ทํา
• ใช้การสอนทั้งแบบปากเปล่าและแบบเขียนบรรยายเป็นตัวหนังสือ
• แบ่งงานที่ให้นักเรียนทําออกเป็นชิ้นย่อย ๆ
• ให้ผู้เรียนทํางานหรือข้อสอบแค่ครั้งละ 1 แผ่น
• ใช้วิธีให้เพื่อนนักเรียนเป็น “บัดดี้”
กลยุทธ์ในการจัดการกับการลุกลี้ลุกลน
• ให้โอกาสผู้เรียนได้ปรับเปลี่ยนท่านั่งบ้าง (เช่น การยืดเส้นยืดสาย)
• ให้ผู้เรียนนั่งที่ที่สามารถลุกขึ้นยืนระหว่างชั่วโมงเรียนได้โดยไม่รบกวนเพื่อนร่วมชั้นเรียน
• ให้ผู้เรียนได้ใช้พลังงานที่มีอยู่เหลือเฟือของเขาให้มาก (เช่น ให้เขาลบ กระดาน)
• สร้างการเคลื่อนไหวและการปฏิสัมพันธ์ในชั่วโมงเรียน
• ให้ผู้เรียนได้ที่นั่ง 2 ที่เพื่อให้เขาได้มีที่นั่งไว้สับเปลี่ยนกัน
กลยุทธ์ในการจัดการกับการหุนหัน
• สนับสนุนพฤติกรรมในเชิงบวกของผู้เรียนด้วยการชมเชยและให้กําลังใจ
• ตั้งกฎเกณฑ์ในการเข้าร่วมชั้นเรียน
• อธิบายถึงผลลัพธ์ของการไม่ปฏิบัติตามกฎและนํามาใช้อย่างต่อเนื่อง
ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมไม่เชื่อฟังในชั้นเรียนระดับมัธยมศึกษา
ADHD ในชั้นเรียนระดับประถมศึกษา