Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human Resource Management การบริหารทรัพยากรบุคคล, นางสาววิจิตรา ขันตี…
Human Resource Management
การบริหารทรัพยากรบุคคล
การบริหารค่าตอบแทนและการประเมินผล
การบริหารค่าตอบแทน
(Compensation)
วัตถุประสงค์ในการจ่าย
ผลตอบแทน
ดึงดูดคนเก่งให้เข้ามาท างาน
สร้างการจูงใจในการปฏิบัติงาน
สร้างขวัญกำลังใจ/ความพึงพอใจ
รักษาคนที่มีความรู้ให้อยู่กับองค์กร
มีผลงานดีขึ้น
หลักการจ่าย
ผลตอบแทน
หลักการแข่งขัน
หลักความเป็นธรรม
หลักความเสมอภาค
หลักความสมเหตุสมผล
หลักการจูงใจ
หลักความสามารถในการจ่าย
การบริหารผลตอบแทน
และสิทธิประโยชน์
การประเมินค่างาน
ผลตอบแทนจูงใจ
สวัสดิการ
ค่าจ้าง
เงินรางวัล (bonus)
การแบ่งส่วนกำไร
ค่านายหน้า(commission)
การเป็นเจ้าของหุ้น
เงินเดือน(salary)
สวัสดิการ
สวัสดิการตามที่กฎหมายกำหนด
การรักษาพยาบาล
การประกันสังคม
สวัสดิภาพและความปลอดภัย
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ *
วันหยุดประเภณี 13 วัน/ปี
สวัสดิการนอกเหนือจากที่กฎหมายกำหนด
ที่อยู่อาศัย
รถรับส่ง
ค่าน้ำมันรถ
ชุดทำงาน
กิจกรรมนันทนาการ ร้านค้า และกีฬา
การประกันชีวิต/การประกันสุขภาพ
เงินช่วยเหลือค่าทำศพ
ค่าเช่าบ้าน
ค่าเล่าเรียนบุตร
วันหยุดเพิ่มเติม
การประเมินผลงาน
(Performance Appraisal)
ประโยชน์ของการประเมินผลงาน
ใช้ประกอบการตัดสินใจของผู้บริหารในการโยกย้าย การเลื่อนตำแหน่ง และการเลิกจ้าง
ใช้ประกอบการพิจารณาความจำเป็นในการ ฝึกอบรมหรือพัฒนาบุคลากร
ใช้ประกอบการพิจารณาปรับระดับค่าตอบแทนให้บุคลากร
ใช้เป็นข้อมูลย้อนกลับไปสู่พนักงานให้ทราบถึงจุดแข็งและจุดอ่อนในการทำงานของตนเอง เพื่อที่จะได้มีแรงจูงใจในการพัฒนาตนเองต่อไป
การวัดและประเมินผลการดำเนินงาน
การกำหนด KPI และประเมินผลในระดับส านัก/ฝ่าย และระดับบุคคล
การกำหนด KPI ที่สอดคล้องกับ JD JS และกลยุทธ์องค์กร
การประเมินบุคลากรในด้านทัศนคติหรือเชิงพฤติกรรม
เงื่อนไข/เกณฑ์การประเมินมีความเฉพาะเจาะจง/เหมาะสมกับบุคลากรในกลุ่มต่างๆ
การทำความเข้าใจ และการรับฟังความคิดเห็นของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผล
การเชื่อมโยงระหว่างผลการประเมินกับผลตอบแทนและการเลื่อนต าแหน่ง
จุดประสงค์ของการประเมินผลการปฎิบัติงาน
เพื่อวัดผลศักยภาพการทำงานของพนักงาน
เพื่อเลื่อนตำแหน่งหรือโยกย้าย
เพื่อปรับฐานเงินเดือนหรือพิจารณาโบนัส
เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการท างาน
เพื่อแก้ไขจุดบกพร่อง พัฒนาจุดเด่น
ระบบการประเมินผลการปฎิบัติงาน
การประเมินข้อมูลส่วนบุคคล(Personal Data)
การประเมินสมรรถนะ(Competency Evaluation)
การประเมินผลการปฎิบัติงาน(Performance Evaluation)
การประเมินผลทางเจตคติ(Attitude Evaluation)
หลักการประเมินผลงาน
ปัจจัยที่จะใช้เป็นหลักเกณฑ์ประเมินผลงาน
ควรเกี่ยวข้องกับ “การทำงาน”
ผู้ที่มีบทบาทหน้าที่หลักในการประเมินผลงาน
ควรจะเป็นหัวหน้างานโดยตรง
ผู้บริหารควรให้มีการชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการ
และหลักเกณฑ์ต่างๆ ที่องค์กรใช้ในการ
ประเมินผลงานให้ผู้ประเมินและผู้ถูก
ประเมินมี ความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน
พนักงานควรจะได้รับการแจ้งผลการประเมิน
อย่างเป็นทางการจากหัวหน้างาน
มาตรฐานผลงานควรจัดทำขึ้นจากข้อมูล
ในคำบรรยายลักษณะงาน (JD)
การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งงาน
การเลื่อนตำแหน่ง (Promotion)
การโยกย้าย (Transfer)
การออกจากงาน (Termination)
การลดตำแหน่ง (Demotion)
การออกจากงาน (Termination)
การปลดออก(Layoff)
การลาออก(Resignation)
การเกษียณ(Retirement)
การไล่ออก(Discharge)
กระบวนการพัฒาบุคลากร
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
กระบวนการที่มุ่งจะเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงาน ความรู้ความสามารถ ทักษะและ ทัศนคติของบุคลากรใหเป็นไปทางที่ดีขึ้นเพื่อให้บุคลากรที่ได้รับการพัฒนาแล้วนั้นปฏิบัติงานได้ผลตามวัตถุประสงค์ของหน่วยงานอย่างมีประสิทธิภาพ
การวิเคราะห์ความต้องการฝึกอบรม
การวิเคราะห์ความสามารถหลักของพนักงาน(Competency Profile)
การวิเคราะห์ความต้องการฝึกอบรมรายตำแหน่ง(Training Needs)
การวิเคราะห์ช่องว่างด้านความสามารถ(Competency Gap) ของพนักงาน
การวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการฝึกอบรม(Return on Investment in Training)
การวางแผนการฝึกอบรม
การจัดทำแบบแผนการฝึกอบรมรายตำแหน่ง(Training Roadmap)
การฝึกอบรมเพื่อลดช่องว่างด้านผลการดำเนินงานหรือความสามารถ(Competency)
การกำหนดเงื่อนไข Pre-position Trainingสำหรับการปรับเลื่อนตำแหน่งพนักงาน
การจัดทำ Succession Plan
มีกระบวนการสอนงาน (Coaching) โดยหัวหน้างาน (On the Job Training) อย่างเป็นมาตรฐาน
วัตถุประสงค์ของ
การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เพื่อให้ความสำคัญกับทรัพยากรบุคคล ให้ทุกคนรู้สึกถึงการดูแลของ
องค์กร ส่งเสริมพัฒนาศักยภาพตลอดจนความสามารถให้ดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ
สร้างความก้าวหน้าให้เป็นรูปธรรม
เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องมือในการใช้วัดผลพนักงาน ประเมิน 4 ประสิทธิภาพการทำงาน ตลอดจนคาดการณ์ศักยภาพขององค์กร
เพื่อแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ ที่ทำให้เกิดการข้อผิดพลาด ทำให้
2 เกิดการท างานที่ดีขึ้น มีประสิทธิภาพขึ้น
เพื่อใช้วางแผนงาน วางแผนธุรกิจ ตลอดจนวางทิศทางขององค์กรใน
5 อนาคตได้
ต้องการให้พนักงานในองค์กรพัฒนาฝีมือ, ทักษะการท างาน, ตลอดจนมีองค์ความรู้ต่างๆ ที่ดีขึ้น เพื่อที่จะสามารถนำมาใช้ประโยชน์กับการทำงานให้ทำงานได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
เพื่อให้พนักงานมีความภักดีกับองค์กร ทั้งยังเป็นการรักษาพนักงานไว้ 6 ให้ต้องการร่วมงานกับองค์กรในระยะยาวด้วย
ความจำเป็นใน
การพัฒนาคน
เพื่อแก้ปัญหาการทำงานในปัจจุบัน
เพื่อเตรียมความพร้อมในอนาคต
ช่องทางการพัฒนาบุคคล (Personnel Development)
Coaching
สับเปลี่ยนโยกย้ายหน้าที่
E-learning
การให้เข้าประชุมในโอกาสต่าง ๆ
การส่งไปศึกษางาน
คู่มือปฏิบัติงาน
OJT
การฝึกงานระหว่างศึกษา
การฝึกอบรม
การวางแผนและกระบวนการสรรหาบุคลากร
การวางแผนอัตรากำลังคน (Manpower Planning)
Forecast Manpower Requirements
(การคาดการณ์ความต้องการอัตรากำลังคน)
Comparing Requirements and Availability
(การเปรียบเทียบความต้องการอัตรากำลังคนกับ
จำนวนอัตรากำลังคนที่มี)
Forecast Manpower Availability
(การคาดการณ์จำนวนอัตรากำลังคนที่มีอยู่)
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์
การเกษียณก่อนอายุ
การเฉลี่ยงานปรับโครงสร้าง
การออกโดยปกติ
การลด/เพิ่มจำนวน
การลด/เพิ่มตำแหน่ง
การเพิ่ม/ลดค่าจ้าง
การโอนย้าย
competency
ความรู้ (knowledge)
ทักษะความชำนาญ (skills)
คุณลักษณะ (Attributes)
Selection (การคัดเลือก)
สภาพร่างกาย
เจตคติ (Attitude)
ความคิดริเริ่มและการตื่นตัวในการท างาน
ทักษะ
การศึกษาและการฝึกอบรม
บุคลิกภาพ
ความมั่นคงและรับผิดชอบ
ขั้นตอนในการคัดเลือกบุคคล
การต้อนรับผู้สมัคร (Reception of Applicants)
การสัมภาษณ์ขั้นต้น (Preliminary Interview)
การตรวจสอบใบสมัครและหลักฐานต่างๆ
การสอบคัดเลือก (Employment Test)
การสัมภาษณ์ (Interview)
การตรวจสอบประวัติจากบุคคลใกล้ชิด (Background Investigation)
การคัดเลือกขั้นสุดท้าย
(Final Selection by Supervisor)
การตรวจสอบสุขภาพ (Physical Examination)
การบรรจุแต่งตั้ง (Placement)
ความสำคัญของการบริหารทรัพยากรบุคคล
วัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
เพื่อสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถเข้ามา
ทำงานในองค์กร (Recruitment and Selection)
เพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถของบุคลากรให้ก้าวหน้า
(Development)
เพื่อใช้ศักยภาพของพนักงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด(Utilization)
เพื่อบำรุงรักษาพนักงานที่มีความสามารถให้อยู่กับองค์กร
นานๆ (Maintenance)
เพื่อทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายสู่ความสำเร็จ (Success)
หลักการบริหารทรัพยากรบุคคล
กิจกรรมทุกอย่างที่ใช้ในการสรรหาและคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร การกระตุ้นความสนใจ การรักษาบุคลากร การสร้างหลักประกันว่าบุคลากรจะปฏิบัติงานด้วยดีและสร้างผงานเพื่อให้บรรลุความส าเร็จในเป้าหมายต่างๆ ขององค์กร
การบริหารงานบุคคล
กระบวนการเกี่ยวกับบุคคลเพื่อให้ได้มาซึ่งบุคคลที่มีสมรรถนะสูงเหมาะสมกัองค์กรโดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและธำรงรักษาให้มีความสุขในการทำงานเพื่อให้สามารถท าหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าหมายของการบริหารทรัพยากรบุคคล
พัฒนา
รักษาไว้
สรรหา
ใช้ประโยชน์
สรุปความส ำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ทำให้มีบุคลากรทำงานที่เพียงพอและต่อเนื่อง
ทำให้ได้คนดีและมีความสามารถเข้ามาทำงานในองค์กร
ทำให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ทำให้มีการบริหารค่าตอบแทนและ
สวัสดิการแก่บุคลากรอย่างเหมาะสม
ทำให้เกิดการป้องกันและแก้ไขพฤติกรรมที่
เบี่ยงเบนของบุคลากร
ทำให้เกิดการประเมินผลงานของบุคลากรที่
เหมาะสมและสนับสนุนคนท างานด
ทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างคนท างาน
ด้วยกันและคนท างานกับผู้บริหาร
ทำให้การบริหารทรัพยากรบุคคล เป็นไปตาม
เป้าหมาย
นางสาววิจิตรา ขันตี B5926213