Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทความ เรื่อง กิจกรรมพัฒนาภาษา สำหรับเด็กปฐมวัย, ภาษาของเด็กประกอบด้วย…
บทความ เรื่อง
กิจกรรมพัฒนาภาษา
สำหรับเด็กปฐมวัย
ความสำคัญ
ภาษามีคุณสมบัติที่เป็นนามธรรม
สติปัญญาของเด็กยังพัฒนาไม่เต็มที่
เด็กยังไม่สามารถคิดสิ่งที่เป็นนามธรรมได้
เด็กเล็กจะเรียนรู้ภาษาได้จากการได้ยินได้ฟังการพูดของพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดู
เด็กสะสมคำแล้วสร้างกฎเกณฑ์ขึ้นเอง
เด็กเรียนรู้ภาษาเป็นไปตามพัฒนาการ
ความหมายของภาษา
สำหรับเด็กปฐมวัย
ภาษาที่ใช้พูดเพื่อสื่อความหมาย
เพื่อแสดงความรู้สึก
ความคิดเห็น
การทำท่าทางประกอบ
การแสดงสีหน้า
ภาษาศาสตร์
ด้านการศึกษา
เครื่องอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
การติดต่อระเบียบของการติดต่อ
สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงแทนความคิด
พจนานุกรม
ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความหมายของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ขั้นตอนพัฒนาการ
ทางการศึกษา
ระยะเปะปะ
อายุแรกเกิดถึง 6
เปล่งเสียงดัง ๆ ที่ยังไม่มีความหมาย
การเปล่งเสียงของเด็กก็เพื่อบอกความต้องการของเขา
เมื่อได้การตอบสนองเขาจะรู้สึกพอใจ
ระยะแยกแยะ
อายุ 6 เดือน ถึง 1 ปี
สามารถแยกแยะเสียงต่าง ๆ
พอใจที่จะได้ส่งเสียง
เสียงใดที่เขาเปล่งได้รับการตอบสนองในทางบวก เขาก็จะเปล่งเสียงนั้นซ้ำ
ระยะเลียนแบบ
อายุ 1 – 2 ขวบ
เริ่มเลียนเสียงต่าง ๆ ที่เขาได้ยิน
เสียงของพ่อแม่
ผู้ใหญ่ที่ใกล้ชิด
ระยะขยาย
อายุ 2-4 ขวบ
หัดพูดโดยจะเริ่มจากการหัดเรียกชื่อ คน สัตว์
สิ่งของที่อยู่ใกล้ตัว
เข้าใจถึงการใช้สัญลักษณ์
อายุ 2 ขวบ เด็กจะเริ่มพูดเป็นคำโดยจะสามารถใช้คำนามได้ 20 %
อายุ 3 ขวบ เด็กจะเริ่มพูดเป็นประโยคได้
อายุ 4 ขวบ เด็กจะเริ่มใช้คำศัพท์ต่าง ๆ และรู้จักการใช้คำเติมหน้า
ระยะโครงสร้าง
อายุ 4-5 ขวบ
เริ่มมีการรับรู้และการสังเกต
เริ่มเล่นสนุกกับคำและประโยคของตนเอง
เริ่มคิดกฎเกณฑ์ในการประสมคำ
หาความหมายของคำและวลี
เริ่มรู้สึกสนุกกับการเปล่งเสียง
ระยะตอบสนอง
อายุ 5-6 ขวบ
การคิดและพัฒนาการทางภาษาของเด็กจะสูงขึ้น
เริ่มพัฒนาภาษาไปสู่ภาษาที่เป็นแบบแผนมากขึ้น
เด็กจะเริ่มใช้ไวยากรณ์อย่างง่าย ๆ
ระยะสร้างสรรค์
อายุ 6 ปีขึ้นไป
ระยะที่เด็กเริ่มเข้าโรงเรียน
เล่นสนุกกับคำ
หาวิธีสื่อความหมายด้วยตัวเลข
เริ่มพัฒนาวิเคราะห์และสร้างสรรค์
ทฤษฏีพัฒนาการทาง
ภาษา
ทฤษฏีความพึงพอใจแห่งตน
โมว์เรอร์
การเรียนรู้การพูดของเด็กเกิดจากการเรียนเสียงอันเนื่องมาจากการพึงพอใจที่จะได้ทำ
ทฤษฏีการเลียนแบบ
เลวิส
การเลียนแบบซึ่งอาจเกิดจากการมองเห็นหรือการได้ยินเสียง
ทฤษฏีเสริมแรง
ไรน์โกลต์
เด็กจะพูดมากขึ้นเมื่อได้รับรางวัล หรือได้รับการเสริมแรง
ทฤษฏีการรับรู้
ลิบูอร์แมน
การรับรู้ทางการฟังขึ้นอยู่กับการเปล่งเสียง
ทฤษฏีความบังเอิญจากการเล่นเสียง
ฮอร์นไดค์
อธิบายว่าเมื่อเด็กกำลังเล่นเสียงอยู่นั้นมีบางเสียงไปคล้ายกับ เสียงที่มีความหมายในภาษาพูดของพ่อแม่ พ่อแม่จึงให้การเสริมแรงทันที ด้วยวิธีนี้จึงทำให้เด็กเกิดพัฒนาการทางภาษา
ทฤษฏีชีววิทยา
เลนเนเบอร์ก
พัฒนาการทางภาษานั้นมีพื้นฐานทางชีววิทยาเป็นสำคัญ
ทฤษฏีการให้รางวัลของแม่
ดอลลาร์และมิลเลอร์
ย้ำเกี่ยวกับบทบาทของแม่ของเด็กในการพัฒนาภาษาของเด็ก
สรุป
การเรียนรู้ภาษาของเด็ก ทุกคนจะมีพัฒนาการไปตามขั้นตอนและกระบวนการที่เหมือนกันซึ่งเริ่มจากขั้นตอนที่ง่าย ๆ โดยธรรมชาติ มีการพัฒนาตามอายุ และพัฒนาการ ซึ่งสามารถส่งเสริมให้เด็กมีทักษะ โดยสอดแทรกในกิจกรรมประจำวันของเด็ก
ภาษาของเด็กประกอบด้วย 4 ทักษะ
ฟัง
พูด
อ่าน
และเขียน
นางสาวอรพรรณ พันธ์ชัยศรี รหัส 6220160440