Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่4 แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่4
แนวคิดเชิงวิเคราะห์เกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
4.3 ระบบ รูปแบบ และวิธีการในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
4.3.1 ระบบของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบการส่งเสริมแบบรวมศูนย์กลางในการกำหนดนโยบายแผน และวิธีปฏิบัติ รัฐเป็นส่วนกลาง
ข้อดี
ควบคุมการดำเนินการส่งเสริมตามนโยบายของรัฐ
สามารถดำเนินการส่งเสริมการผลิตได้เป็นจำนวนมาก
ตรวจสอบได้ง่าย
ควบคุมประสิทธิภาพการผลิตมวลรวมได้
ดำเนินการได้ในสภาพพื้นที่ใหม่ ใช้เครื่องจักรกลได้มาก
เกษตรกรมีการพัฒนาสูง
ข้อจำกัด
การมีส่วนร่วมในท้องถิ่นน้อย การดำเนินงานไม่เป็นไปตามสภาพของท้องถิ่นและเกษตรกร
ล่าช้าในการดำเนินการแก้ปัญหา
แผนพัฒนาไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง
ร
ะบบการส่งเสริมแบบกระจายการส่งเสริมไปสู่จุดการผลิต กระจายสู่ท้องถิ่นดำเนินการเอง
ข้อดี
สามารถดำเนินการผลิตได้มีประสิทธิภาพตามสภาพพื้นที่
ควบคุมการผลิตได้อย่างเหมาะสม
การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ในการกำหนดแนวทางการพัฒนา
ควบคุมการผลิตให้มีคุณภาพที่ดี
พัฒนาเป็นไปตามกลไกของท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ข้อจำกัด
สามารถทำได้ในสถานที่จำกัด
ประสบปัญหาในการผลิตแบบมวลรวม
ต้องดำเนินการให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐ
หน่วยงานท้องถิ่นยังขาดประสบการณ์ในการทำงาน กำหนดแผนพัฒนา
ระบบการส่งเสริมโดยสถาบันการศึกษา
ข้อดี
การดำเนินการส่งเสริม เป็นการนำเอาทรัพยากรของสถานศึกษา ของอาจารย์ และนักวิชาการไปสู่การเป็นนักส่งเสริม
การวิจัย และถ่ายทอดความรู้ไปสู่เกษตรกร ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถรับทราบสภาพปัญหามาสู่การวิจัย และแก้ไขปัญหาได้ตรงกับความต้องการของเกษตรกรได้ดี
ข้อจำกัด
เป็นการดำเนินการที่เฉพาะเจาะจงไม่กว้างขวาง
ขาดการสนับสนุน เป็นไปอย่างจำกัด
ระบบการส่งเสริมโดยภาคเอกชน
ข้อดี
เน้นการผลิตโดยเฉพาะ
กำหนดปริมาณการผลิตได้
ช่วยเกษตรในการเพิ่มผลผลิตได้มาก
การดำเนินการได้รวดเร็ว ครบวงจร
ข้อจำกัด
จำกัดเฉพาะผลผลิตที่บริษัทต้องการ
ดำเนินการในเชิงธุรกิจมากกว่าการพัฒนาที่ยั่งยืน
ระบบการส่งเสริมในลักษณะของการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน
เป็นการบูรณาการส่งเสริมและพัฒนา แก้ไขปัญหาของเกษตรกร ร่วมกันทุกภาคส่วน
4.3.2รูปแบบและวิธีการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรโดยทั่วไป
การส่งเสริมรูปแบบอย่างเป็นทางการ ส่งเสริมแบบวันต่อวัน เป็นการบริหารโดยรัฐเป็นส่วนกลาง
รูปแบบของการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน มุ่งพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการเพิ่มผลผลิตในฟาร์มของแต่ละบุคคล ใกล้ชิดเกษตรกร โดยการให้คำแนะนำแก่เกษตรกร
มุ่งพัฒนาการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรสนับสนุนเทคโนโลยีโดยตรง
มุ่งเปลี่ยนแปลงการส่งเสริมแบบหลายวัตถุประสงค์ไปสู่การพัฒนาวัตถุประสงค์เดียว
มุ่งปรับปรุงอัตราส่วนการดูแลรับผิดชอบของนักส่งเสริมต่อครัวเรือนเกษตรกรให้เหมาะสม
ปรับปรุงการติดต่อประสานงานกับเกษตรกร เช่น ยานพาหนะ
ปรับปรุงเจ้าหน้าที่ในด้านทักษะความรู้ในการถ่ายทอดสู่เกษตรกรอย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนางานวิจัยสู่การถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่เกษตรกร
สร้างความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของนักส่งเสริม
ลดปัญหาการทำงานซ้ำซ้อนของหน่วยงาน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรโดยสถาบันการศึกษา
รูปแบบการส่งเสริมทางเลือก
มุงพัฒนาผลผลิตการเกษตรเฉพาะอย่าง มุ่งผลิตเป็นสำคัญ เน้นเทคโนโลยีการผลิต การตลาดเป็นเป้าหมายสำคัญ วัดผลจากปริมาณผลผลิต
ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบมีส่วนร่วม ดำเนินการโดยหน่วยงานท้องถิ่นและความร่วมมือของเกษตรกรร่วมกัน
การส่งเสริมในรูปแบบโครงการ ต้องการเวลาที่รวดเร็ว ดำเนินการโดยหน่วยงานรัฐ พัฒนาในพื้นที่เฉพาะ และเวลาที่กำหนด การเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
การส่งเสริมในรูปแบบของการพัฒนาระบบฟาร์ม มุ่งใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับเกษตรกรรายย่อย และสภาพพื้นที่นั้นๆ ไม่เร่งรีบ เจ้าหน้าที่มีความรู้ด้านฟาร์ม ควบคู่กับการวิจัย วัดผลจากการยอมรับเทคโนโลยีของเกษตรกร
การส่งเสริมรูปแบบของการร่วมรับผิดชอบในค่าใช้จ่าย หน่วยงานท้องถิ่นรับผิดชอบค่าใช้จ่ายร่วมกับกลุ่มเกษตรกรในพื้นที่เพื่อพัฒนาฟาร์ม
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรแบบเกษตรพันธสัญญา ผู้ส่งเสริมเป็นฝ่ายเอกชนสนับสนุนการผลิตแก่เกษตรกร ตามข้อตกลงที่กำหนด เน้นผลิตเพื่ออุตสาหกรรม ได้รับการดูแลติดตามจากภาครัฐเข้ามาควบคุมดูแล
4.3.3 วิธีการส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี
วิธีการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรโดยอิงบุคคลเป้าหมายเป็นเกณฑ์
บุคคลต่อบุคคล
การเยี่ยมไร่า และบ้านของเกษตรกร
เกษตรกรมาติดต่อที่สำนักงาน
การติดต่อทางโทรศัพท์
การติดต่อทางจดหมายส่วนตัว
การติดต่ออย่างไม่เป็นทางการ ด้วยความบังเอิญตามสถานที่ต่างๆ
วิธีการส่งเสริมโดยกลุ่มบุคคล
การประชุมกลุ่ม
การฝึกอบรม
การสาธิต ใช้การบรรยายประกอบกับการแสดงให้เห็น
เช่น สาธิตวิธี สาธิตผล
การศึกษาดูงานนอกสถานที่
การส่งเสริมแบบมวลชน
เอกสารหรือสิ่งพิมพ์เผยแพร่
ภาพโฆษณาหรือโปสเตอร์
หนังสือพิมพ์
วิทยุ เป็นสื่อที่ให้ข่าวได้เร็วที่สุด
โทรทัศน์
ภาพยนต์ กระตุ้นให้คนสนใจได้ดี กระตุ้นความสนใจ
การจัดนิทรรศการ
การส่งเสริมโดยอิงวัตถุเป็นเกณฑ์
เลือกการส่งเสริมเพียงเรื่องเดียว เช่นการทดลองปุ๋ย
เลือกเรื่องที่จะส่งเสริมหลายเรื่องเกี่ยวข้องพร้อมๆกัน เช่นการเพิ่มผลผลิตข้าวด้วยปัจจัยต่างๆร่วมกัน เช่น ปุ๋ย พันธุ์ แปลง
เลือกเรื่องทั้งหมดเกี่ยวกับฟาร์มและบ้านเรือน เกี่ยวกับการจัดฟาร์มและบ้านเรือน
เลือกท้องที่ใดท้องที่หนึ่งเป็นเป้าหมาย ส่งเสริมเฉพาะพื้นที่ตามความต้องการของเกษตรกร
ส่งเสริมโดยอิงเจ้าหน้าที่เป็นเกณฑ์ เช่น เจ้าหน้าที่เฉพาะทาง จากหลายหน่วยงาน สื่อมวลชน
ส่งเสริมโดยอิงเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเกณฑ์
ส่งเสริมโดยอิงชุมชนเป็นเกณฑ์
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบล ส่งเสริมผ่านเกษตรกรผู้นำ ปราชญ์ชาวบ้าน นักส่งเสริมทำหน้าที่สนับสนุนข้อมูล
ศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบล
การถ่ายทอดความรู้ กิจกรรมชุมชน วิสาหกิจชุมชน
แบบบูรณาการณ์ อิงธุรกิจสังคม
4.4 การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกับการ
พัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน
4.4.1 บทบาทและความสัมพันธ์ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรบทบาทตจ่อการพัฒนาผลผลิตทางการเกษตร
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรบทบาทในการแก้ไขปัญหาในการพัฒนาการเกษตร
บทบาทในการสนับสนุนการพัฒนาการเกษตร
สนับสนุนการพัฒนาชีวิตและครอบครัวเกษตรกร
สนับสนุนการพัฒนาการเกษตรต่อการพัฒนาชุมชนในชนบท
สนับสนุนการพัฒนาประเทศ
สนับสนุนการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปัญหาและอุปสรรค
สภาวะการถ่ายเทแรงงานภาคการเกษตรไปสู่อุตสาหกรรม
การลดลงของแรงงานภาคการเกษตรรายย่อยไปสู่อุตสาหกรรม
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตที่มุ่งผลิตอย่างเดียว
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความสัมพันธ์ของการส่งเสริมเกษตรกับการพัฒนาการเกษตร ต้องอาศัยปัจจัยต่างๆร่วมกัน
4.4.2 การประยุกต์ผลการวิจัยในงานส่งเสริมการเกษตร
เกษตรกร
การติดต่อสื่อสาร
งานวิจัยด้านการเกษตร
องค์กรของชุมชน
นโยบายของรัฐเกี่ยวกับการส่งเสริมการเกษตร
นวัตกรรมการเกษตร
4.4.3 การส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ตามนโยบายพัฒนาประเทศ 4.0 ของประเทศไทย
แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับเกษตรกร
ขั้นที่หนึ่ง ทำเกษตรพอเลี้ยงตัวเองได้ มีการแบ่งพื้นที่ออกเป็น 30 30 30 10
ขั้นที่สอง รวมพลังกันในรูปกลุ่ม เพื่อทำการผลิต หาตลาด
ขั้นที่สาม สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพ โดยประสานความร่วมมือกับภาคธุรกิจและหน่วยงาน
การส่งเสริมเกษตรทฤษฏีใหม่ ตามแนวนโยบายของการพัฒนา 4.0
เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่เกษตรสมัยใหม่ เน้นเทคโนโลยี
เปลี่ยนจากการช่วยเหลือจากภาครัฐเป็นการพึ่งพาตนเองได้
การสร้างมูลค่าเพิ่มของสินค้า
พัฒนาทักษะแรงงานให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น