Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล
การล้างมือ
เชื้อจุลชีพบนมือ
พบมากบริเวณรักแร้ ขาหนีบ มือ และแขน จุลชีพที่พบเป็นแบคทีเรียท้องถิ่นไม่ก่อให้เกิดโรค เช่น Staphylococcus aureus
เชื้อบนมือ : E.cpli ท้องร่วง , C.xerosis โรคผิวหนัง, H1N1 virus ไข้หวัด ,S.aureus คลื่นไส้อาเจียน, S.pyogenes ไข้ต่าง
จุลชีพผิวหนัง
1.จุลชีพชั่วคราว (transient flora) ได้รับเชื้อโดยตรงจากผู้ป่วย เชื้อนี้เป็นเหตุติดเชื้อในโรงพยาบาล
2.จุลชีพประจำถิ่น (resident flora) อาศัยผิวหนังชั้้นลึกลงไปในส่วนหนังแท้ ต้องอาศัยน้ำยาฆ่าเขื้อ เช่น Straphylococcus epidermids
เชื้อประจำถิ่นจะทำหน้าที่ป้องกัน 2 อย่าง คือต่อต้านจุลชีพโดยตรงและแย่งระบบนิเวศ
เซลล์ผิวหนังหลุดลอกสร้างใหม่ดังนั้นผ้าปูที่นอน เฟอร์นิเจอร์รอบตัวผู้ป่วยจึงมีการปนเปื้อนเชื้อจุลชีพที่พบบนผิวหนังผู้ป่วย
เชือจุลชีพอยู่ในสิ่งแวดล้อมนาน แตกต่างกันไปตามชนิดเชิ้อ เช่นเชื้อ MRSA มีชีวิตอยู่บนพื้นที่แห้งได้นานสุดถึง 9 สัปดาห์ และชีวิตอยู่บนพื้นลามิเนทพลาสติกได้นาน 2 วัน
การล้างมือตามปกติด้วยน้ำกับสบู่หรือกับน้ำยาฆ่าเชื้อ 7 ขั้นตอน
การถูมือกับแอลกอฮอล์(alcohol-based hand rubs) ใช้ประมาณ 5 cc หรือพอที่จะถูมือทั้งสองข้างได้ ไม่ควรใช้ในกรณีมือเปื้อนสิ่งสกปรกมาก เปื้อนเลือด หรือสารคัดหลั่งจากร่างกายผู้ป่วยเนื่องจากแอลกอฮอล์เสือมสภาพเมื่อสัมผัสกับสิ่งสกปรก
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ
Standard Precaution ล้างมือ เลือก PEE ที่เหมาะสม ป้องกันอุบัติเหตุ จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย -Airborne precaution -Droplet precaution -Contact precaution
1.การป้องกันมาตรฐาน (Standard precautions) คือการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยทุกรายที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลไม่ว่าผู้ป่วยจะมีอาการติดเชื้อหรือไม่ โดยมุ่งเน้นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ จากเลือด สารน้ำสารคัดหลั่งของร่างกาย(blood body fluid)เยื่อบุเมือก(Mucous membrane)
การปฏิบัติ
1.ทำความสะอาดอย่างถูกต้อง
2.สวมอุปกรณ์ป้องกันร่างกายให้เหมาะสม เช่นหมวก Mask Glove gown
3.ป้องกันอุบัติเหตุจากของแผลมคมและฟุ้งกระจาย
4.จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
2.การป้องกันตามวิธีการที่แพร่กระจายเชื้อ(transmission-based precautions) มี3วิธี 1.airbone precautions 2.droplet precautions 3.contact precautions
1.airbone precautions เชื้อแพร่ทางละอองเช่น วัณโรค
2.droplet precautions แพร่ทางละอองฝอย เสมหะน้ำมูก น้ำลายเกิดจากการไอการพูดได้ไม่ไกลเกินระยะ 3 ฟุต เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางจมูก และเยื่อบุตาหรือผิวหนัง เช่น Diphteria
3.contact precautions แพร่ทางสัมผัสโดยตรง (direct contact) เช่นการสัมผัสผิวหนังที่มีแผล หรือติดต่อทางอ้อม (Indirect contact) เช่น MRSA,VRE เช่นโรคติดเชื้อที่ผิวหยัง โรคติดเชื้อในทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจหรือบาดแผลด้วยเชื้อที่ดื้อยาหลายชนิด เช่น Escherichia coli
เครื่องป้องกันร่างกาย
หลักการใช้เครื่องป้องกันร่างกาย
(Personal Protective Equipment-PPE)
-ใช้เมื่อจำเป็น เลือกใช้เครื่องป้องกันให้เหมาะแก่งาน เลือกใช้ขนาดพอดี มีการหมุนเวียนและกำจัดอย่างเหมาะสม
เครื่องป้องกันร่างกายที่ใช้ในทางการแพทย์
1.cap 2.eyeware 3.mask 4.glove 5.gown 6.apron 7.footware