Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7 รูปแบบและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1. ตามวิธีการทำงาน
แบบการฝึกอบรมและเยี่ยมเยียน
เนื้อหาอบเฉพาะด้าน
เวลาการทำงานที่แน่นอน
ความสม่ำเสมอในการเยี่ยมเยียน
การเชื่อมโยงระหว่างการส่งเสริมและการวิจัย
ก่ารทำงานภายใต้การบังคับบัญชาแบบเบ็ดเสร็จ
เชื่อถือได้
ความเป็นมืออาชีพ
แบบการบริการเบ็ดเสร็จ
มีหลักสูตรการเรียนรู้ที่ชัดเจน
เน้นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง
การบริหารงานร่วมกัน
มีเกษตรกรต้นแบบ
แผนพัฒนาที่เกิดจากชุมชน
มีจุดให้บริการที่สะดวก
แบบโครงการ
มีขอบเขตของการบริหารและความรับผิดชอบที่เป็นเอกเทศ
มีรูปแบบการดำเนินงานที่สอดคล้องกลมกลืนกัน
มีการกำหนดขอบเขตพื้นที่การดำเนินงานอย่างชัดเจน
มีการทำสัญญากับผู้ที่เกี่ยวข้อง
มีการกำหนดระยะเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดชัดเจน
มีการกำหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน
แบบการมีส่วนร่วม
ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกัน
การพัฒนาขีดความสามารถของตนเอง
ความมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องในกิจกรรม
การร่วมจัดสรรผลประโยชนื
เป็นการกระจายอำนาจในการตัดสินใจ
แบบผสมผสาน
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทำให้เกิดการประหยัดทรัพยากร
เกิดกระบวนการร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับรู้ ร่วมเรียนรู้ ร่วมรับผลในการทำงานร่วมกัน
ทำให้เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรหรือผู้ที่เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติงานแบบบูรณาการ
การแก้ไขปัญหาแบบเชื่อมโยง
การผสมผสานรูปแบบ วิธีการ และสื่อที่ใช้ต่างๆ
การผสมผสานความรู้หลายวิชาหรือหลายสาสตร์
3.ตามจุดเน้น
จำแนกตามพื้นที่เป้าหมาย
การกำหนดเป้าหมายพัฒนา
การมีผู้ประสานงานในพื้นที่
การกำหนดพื้นที่เป้าหมาย
การบริหารจัดการแปลงในด้านผลิตและการตลาด
จำแนกตามสินค้าและบริการเป้าหมาย
การวิเคราะห์ความสามารถของพื้นที่ในการผลิตสินค้า
การผลิตสินค้าที่สอดคล้องกับสถานการณื
การกำหนดสินค้าและบริการเป้าหมาย
จำแนกตามบุคคลเป้าหมาย
เครือข่ายเกษตรกร
ส่งเสริมการลงทุนทั้งในและต่างประเทศ
สนับสนุนการร่วมทุนด้านการวิจัยทางการเกษตร
สนับสนุนให้สามารถเข้าถึงข้อมูล การผลิต การตลาด
การสร้างมาตรการจูงใจให้เกษตรกรรายใหญ่ที่ทำเกษตรเชิงพาณิชย์ประสบผลสำเร็จจากอาชีพเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาภาคการเกษตร
ผลักดันให้เกิดการเชื่อมโยงภาคีเครือข่ายของการผลิต
ปรับปรุงกฎระเบียบเพื่อลดปัญหาและอุปสรรคในการผลิตสินค้าเชิงพาณิชย์
กลุ่มเกษตรกร
สนับสนุนการดำเนินงานของกลุ่ม สถาบัน องค์กรเกษตร
บริหารจัดการองค์ความรู้ของชุมชน
สร้างองค์ความรู้ในการรวมกลุ่มของเกษตรกร
สร้างขีดความสามารถทางการแข่งขันให้กับกลุ่ม
เกษตรกรรายย่อย
สร้างความมั่นคงในการประกอบอาชีพและรายได้
สร้างภูมิคุ้มกันและสร้างขีดความสามารถในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
สร้างองค์ความรู้ที่เหมาะสมในการประกอบอาชีพ
สร้างความมั่นคง
2.ตามวัตถุประสงค์
เพื่อการพึ่งพา
การพึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ
การพึ่งตนเองได้ทางจิตใจ
การพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ
การพึ่งตนเองได้ทางสังคม
การพึ่งพาตนเองได้ทางเทคโนโลยี
เพื่อการดำเนินการเชิงธุรกิจ
การส่งเสริมแบบครบวงจร
การส่งเสริมที่ใช้การตลาดนำ
การส่งเสริมการขาย
การส่งเสริมที่ดำเนินการแบบหวังผลกำไรทางธุรกิจทางอ้อม