Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ - Coggle Diagram
การพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์
ความหมาย บุคลิกภาพที่สมบูรณ์
คือ ลักษณะการแสดงออกของบุคคลอันบ่งบอกให้เห็นถึงความเป็นผู้มีวุฒิภาววะทางจิตใจและอารมณ์อยู่ในระดับค่อนข้างสูง สามารถรับรู้ตนเองได้ตามความเป็นจริง
การพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยม
วงการจิตวิทยา
ได้ให้ความสนใจใการศึกษาและแนวทางที่จะนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาบุคลิกภาพให้เป็นที่ยอมรับทางสังคม จนกระทั่งเกิดเป็นทฤษฎีบุคลิกภาพขึ้นมาอย่างมากมายหลายทฤษฎี
หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการปรัปปรุงบุคลิกภาพตามทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มมนุษยนิยมนั้น
ได้มีการยอมรับและนำไปใช้กันอย่างกว้างขวางในหลายวงการ ทั้งในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม ตลอดจนในแวดวงของการทำงานที่ประสงค์จะพัฒนาบุคลากรในองค์กรของตน
แนวคิดในการพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวคิดของมาสโลว์
ผู้ก่อตั้งได้ให้นิยามไ้ว้ว่า บุคลิกภาพหรือการแสดงออกของบุคลิกภาพหรือการแสดงออกของบุคคลจะพัฒนาไปสู่ความสมบูรณ์ได้อย่างเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมซึ่งเป็นได้ทั้งอุปสรรคขัดขวางหรือให้การสนับสนุนศักยภาพในตัวบุคคล และอีกส่วนหนึ่งก็จะมาจากปัจจัยภายในตัวของแต่ละคนนั่นเอง
แนวคิดในการพัฒนาบุคลิกภาพตามแนวคิดของ Rogers
มีความเชื่อว่าการที่บุคคใดพัฒนาบุคลิกภาพของตนไปถึงจุดของความสมบูรณ์ได้นั้ บุคคลดังกว่าวจะต้องมีพื้นฐานประสบการณ์จากครอบครัวและสิ่งแวดล้อมในวัยเด็กที่เป็นปัจจัยช่วยเสริมสร้างอันตโนทัศน์ต่อตนเองไปในทิศทางที่เหมาะสมเสีย่อนเป็นอันดับเบื้องต้น
แนวคิดในการพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามหลักศาสนา
คำสอนของศาสนาทุกศาสนา
ล้วนแล้วแต่สอดแทรกแนวทางการพัฒนาตนให้เป็นผู้มีจิตใจสูงส่งเปี่ยมไปด้วยคุณธรรม รวมทั้งการมีบุคลิกภาพอันพึงประสงค์เป็นที่ยอมรับของผู้อื่นทั้งสิ้นหรืออีกในความหมายหนึ่งก็คือต้องการให้เป็นผู้อยู่ในศาสนาตนมีบุคลิกภาพที่สมบูรณ์
สำหรับการพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามหลักศาสนาพุทธ
ลักษณะของผู้มีบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวพระพุทธศาสนา
สำหรับผู้เป็นมนุษย์ที่มีจิตใจสูงหรือผู้มีบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวทางของพุทธศาสนานั้นต้องเป็นผู้มีบุคลิกลักษณะสิบประการ โดยจำแนกเป็นทางกาย 3 วาจา 4 ใจ 3 หรือการปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่มีชื่อว่า กุศลกรรมบถ
หลักธรรมที่นำมาใช้ในการพัฒนาบุคลิกภาพ
หลักธรมที่ช่วยส่งเสริมให้เป็นผู้มีบุคลิกภาพของความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์นั้นควรเริ่มต้นใช้หลักธรรมดังต่อไปนี้
หลักโยนิโสมนสิการ
หลักกัลยาณมิตตา
หลักฉันทะปทา
หลักอัตตาปทา
หลักอัปปมาทสัมปทา
การพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามหลักศาสนาคริสต์
หลักธรรมที่นำมาใช้ในการพัฒนาบุคลิกภาพ
สำหรับหลักธรรมที่ชาวคริสต์ทุกคน ควรึดถือปฏิบัติอย่างเคร่อครัดตามที่มีการระบุไว้ในพระคัมภีร์ไบเบิล นับมีสาระสำคัญอยู่ 3 หลักใหญ่ ดังต่อไปนี้
หลักตรีเอกานุภาพ
หลักของบัญญัติ 10 ประการ
หลักแห่งความรัก
หลักแห่งความหวัง
ลักษณะบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวของศาสนาคริสต์
สำหรับความเป็นผู้มีบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวของศาสนาคริสต์จะต้องมีการแสดงออกโดยอาศัยพื้นฐานตามที่ระบุไว้ในบัญญัติทั้ง 10 ประการได้ดังนี้
เป็นผู้ศรัทธาเชื่อมั่นในพระเจ้า
ปฏิบัติศาสนกิจในการดำเนินชีวิตอย่างเคร่งครัด
เป็นผู้มีความกตัญญูต่อบิดา
รักเพื่อนมนุษย์
ไม่ล่วงละเมิดทางเพศต่อบุตร ภรรยาผู้อื่น
มีความประหยัด ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย
เป็นผู้ไม่มีความโลภที่คิดอยากได้ของผู้อื่น
เป็นผู้พูดแต่ความจริง ไม่นินทาว่าร้ายผู้อื่น
การพัฒนาบุคลิกภาพที่สมบรูณ์ตามหลักศาสนาอิสลาม
หลักธรรมที่นำมาใช้ในการพัฒนาบุคลิกภาพ
สำหรับแนวคำสอนที่ปรากฏในคัมภีร์อัลกุรอาน เพื่อให้อิสามนิกชนนำไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาตนเองเพื่อความเป็นมุสลิมืั้ดีนั้น มีหลักใหญ่ด้วยกัน 3 ประการ ได้แก่
หลักแห่งศรัทธา
หลักปฏิบัติตนตามข้อกำหนดของอัลลอฮ์
หลักคุณธรรม (อัลฮิห์ ซาน)
ลักษณะบุคลิกภาพที่สมบูรณ์ตามแนวของศาสนาอิสลาม
สำหรับในศาสนาอิสลามนั้นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่สมบูรณ์เพื่อได้ชื่อว่าเป็นมุสลิมที่ดีนั้นจะมีบุคลิกภาพที่สำคัญดังต่อไปนี้
เป็นผู้ยึดมั่นในหลักใหญ่ทั้งสามประการ
เป็นผู้รักษาความสะอาด
เป็นผู้มีความเมตตาต่อมนุษย์และสัตว์
ไม่คดโกง ฉ้อฉล
ไม่ล่วงประเวณ๊ผู้มิใช่เป็นภรรยาของตน
พูดแต่สิ่งที่เป็นความจริง
งดเว้นการดื่มสุราของมึนเมาทุกชนิด
มีความกตัญญูต่อบิดามารดา
มีความอ่อนน้อมถ่มตน
มีความซื่อสัตย์ สุจริต
มีความพอดี
สำรวมระวังในการเปิดเผยร่ากาย
การประเมินและวัดบุคลิกภาพ
สำหรับเทคนิควิธีที่วงการจิตวิทยานิยมใช้ในการตรวจสอบบุคลิกภาพของบุคคล
กันอย่างกว้างขวางนั้น แบ่งออกเป็นสามประเภท ได้แก่ โดยใช้วิธีการประเมินบุคลิกภาพวิธีวัดบุคลิกภาพและวิธีทกสอบอุคลิกภาพ ซึ่งทั้งสามประเภทมีความแตกต่างกันดังจะได้กล่าวในรายละเอียดในำดับต่อไป
ประโยชน์ของการประเมินและวัดบุคลิกภาพ
ในการประเมินและวัดบุคลิกภาพนั้น สามารถใช้นำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์กันอย่างกว้างขวางในเกือบทุกด้านดังนี้
ประโยชน์ในด้านพัฒนาตนเอง
ประโยชน์ในด้านคลินิก
ประโยชน์ในด้านธุรกิจ
ประโยชน์ในด้านกฎหมาย
ประโยชน์ในด้านการวิจัย
สิ่งที่ควรตระหนักในการประเมินและวัดบุคลิก
ซึ่งความละเอียงอาจแบ่งออกได้ 2 ประการดังนี้
1. การเลือกรับรู้
การเลือกรับรู้บุคคลเพียงด้านเดียว เป็นการประเมินและวัดบุคคลอื่น แบ่งเป็น 2 ประเภท
การรับรู้บุคคลในด้านดี
การรับรู้บุคคลในด้านไม่ดี
2. การรับรู้แบบเหมารวม
เป็นการประเมินและวัดบุคคลอื่นโดยนำเอกลักษณ์ประจำกลุ่มมาร่วมในการตีความหรืออธิบายคุณักษณะของสมาชิกกลุ่ม
วิธีการประเมินและวัดบุคลิกภาพ
ในวงการจิตวิทยาเครื่องมือที่นำมาใช้ในการตรวจสอบบุคลิกภาพ อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังต่อไปนี้
1.เทคนิคการประเมินบุคลิกภาพ
แบ่งออกเป็น
การสังเกต
การสัมภาษณ์
การสำรวจ
2. เทคนิคการวัดบุคลิกภาพโดยใช้แบบวัดมาตรฐาน
แบ่งออกเป็นดังนี้
แบบวัดบุคลิกภาพ 16PE
แบบวัดบุคลิกภาพ MMPI
แบบทดสอบแบบฉายภาพ