Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการ แพร่กระจายเชื้อ, นางสาวรพีพร …
การป้องกันและควบคุมการ แพร่กระจายเชื้อ
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (Isolation precautions) หมายถึงการปฏิบัติเพื่อป้องกันมิให้เชื้อจุลชีพจากผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อหรือผู้ที่มีเชื้ออยู่แต่ไม่ปรากฎอาการ ( Carrier หรือ colonized) แพร่ไปสู่ผู้ป่วยอื่น สู่บุคลากร หรือญาติผู้ป่วย การป้องกันการแพร่กระจายเชื้ออาจทำได้หลายวิธี
วิธีการแพร่กระจายเชื้อ มี 3 วิธี
การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission )
การสัมผัส ทางตรง (Direct contact transmission )
การสัมผัสทางอ้อม (Indirect contact transmission )
การแพร่กระจายเชื้อโดยละอองฝอยน้ำมูกน้ำลาย (Droplet transmission)
การแพร่กระจายเชื้อทางอากาศ (Airborne transmission)
การแบ่งการป้องกันออก เป็น 2 ประเภท คือ
Standard precautions
เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในผู้ป่วยทุกราย โดยให้คำนึงว่า ผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเชื้อโรคที่สมารถติดต่อได้ทางเลือดและสารคัดหลั่งจากร่างกายทุกชนิด (Body fluid, Secretion, Excretion ยกเว้นเหงื่อ)
1.การล้างมือและการสวมถุงมือ (Handwashing and gloving)
สวมเครื่องมือป้องกันร่างกาย (Protective barriers)
การดูแลอุปกรณ์ เครื่องมือ – เครื่องใช้ของผู้ป่วย (Patient care equipment)
การจัดการผ้าและการซัก (Linen and laundry)
การทำความสะอาดเตียงผู้ป่วยและสิ่งของรอบๆผู้ป่วย (Routine and terminal cleaning /Environmental control)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับประทานอาหาร( Eating utensils )
1 more item...
Transmission-based precautions
เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของ โรคติดเชื้อในผู้ป่วยที่ทราบการวินิจฉัย แล้วโดยป้องกันตามกลวิธีการติดต่อเพิ่มเติมจากการดูแลผู้ป่วย ด้วย Standard precautions
Airborne precautions
Droplet precautions
Contact precautions
เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ติดต่อได้โดยการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ Infectious diarrhea, Infectious wound, Abscess, Viral hemorrhagic infections, Lice, Scabies รวมทั้ง เชื้อที่ต้องมีทั้ง Airborne และ Contract precautions เช่น โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (SARS) โรคไข้หวัดนก (Avain Influenza) และโรคสุกใส
เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคจากละอองฝอย เสมหะ ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน นอกจากนี้ ยังติดต่อจากการสัมผัส เยื่อบุตา เยื่อบุปากและจมูก ได้แก่ หัดเยอรมัน (Rubella) คางทูม (Mumps) ไอกรน (Pertussis) ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal infection)
เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่แพร่ทางอากาศที่มีขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน ได้แก่ วัณ โรค (TB) หัด (Measles) สุกใส (Chickenpox) งูสวัดและเริมแบบแพร่กระจาย (Disseminated herpes zoster and Disseminated herpes simplex ในกลุ่มผู้ป่วยภูมิคุ้มกันบกพร่อง) โรค ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory Syndrome ; SARS) และ โรคไข้หวัด นก (Avian Influenza)
เชื้อโรคแพร่กระจายได้อย่างไร?
แบคทีเรียและเชื้อโรคที่เป็นอันตรายแพร่กระจายเข้ามาในที่พักอาศัยโดยแฝงตัวมากับร่างกายของคนเรา หรือบางครั้งก็ปะปนอยู่ในอาหารและ น้ำที่ปนเปื้อน
เราเองมีส่วนสำคัญในการควบคุมแพร่กระจายของเชื้อโรคการทำความสะอาดพื้นผิวที่สกปรกอย่างไม่ถูกสุขอนามัย (เช่น ผ้าที่สกปรก) อาจทำให้เชื้อโรคแพร่กระจายไปยังบริเวณอื่นได้อย่างรวดเร็ว
การทำความสะอาดแตกต่างจากการฆ่าเชื้ออย่างไร?
การทำความสะอาด หมายถึงการกำจัดสิ่งสกปรกและเชื้อโรคบางขนิด โดยทั่วไปมักใช้น้ำยาทำความสะอาดและล้างออกให้สะอาดด้วยน้ำร้อนการฆ่าเชื้อ หมายถึง การฆ่าเชื้อโรคที่มีอยู่เกือบทั้งหมด วิธีการนี้ใช้สำหรับสิ่งของขนาดใหญ่ที่ยึดติดอยู่กับที่เฉพาะซึ่งการนำไปล้างทั้งชิ้นไม่สามารถกระทำได้ (เช่นโต๊ะทำงาน, ชักโครก, อ่างล้างมือ, ชุดโทรศัพท์) การทำความสะอาดพื้นผิวบริเวณต่างๆ
นางสาวรพีพร ศักดิ์ศรี เลขที่ 55 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา62123301109