Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สภาการพยาบาลได้รับหนังสือจากแพทยสภาเสนอเรื่องจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพการพ…
สภาการพยาบาลได้รับหนังสือจากแพทยสภาเสนอเรื่องจริยธรรมของผู้ประกอบอาชีพการพยาบาลโดยแจ้งว่า หนังสือพิมพ์รายสัปดาห์ฉบับหนึ่งได้ลงข่าวว่า ในวันที่ 10 เมษายน 2538 ผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุจากรถจักรยานยนต์ แพทย์วินิจฉัยว่ามีอาการม้ามแตก ต้องทำการผ่าตัดโดยเร่งด่วน
โดยทำการผ่าตัดตั้งแต่เวลาประมาณ 15.45 น.-17.00 น. ซึ่งอยู่ในช่วงการส่งต่อเวรระหว่างเวรเช้ากับเวรบ่าย พยาบาลเวรเช้าประจำห้องผ่าตัดทำหน้าที่เป็นทีมพยาบาลช่วยผ่าตัด และพยาบาลเวรบ่ายรับช่วงต่อซึ่งไม่ได้นับเครื่องมือผ่าตัด และขณะเปลี่ยนตัวผู้ช่วยส่งเครื่องมือขณะผ่าตัดก็ไม่ได้นับเครื่องมือผ่าตัด
ต่อมาหลังจาก
การผ่าตัดเสร็จสิ้นไปแล้วประมาณ 1 ชั่วโมง เจ้าหน้าที่ล้างเครื่องมือแจ้งให้พยาบาลหัวหน้าทีมช่วยผ่าตัดทราบว่าเครื่องมือหายไป 1 ชิ้น เจ้าหน้าที่ในคณะช่วยผ่าตัดช่วยกันค้นหาแต่ไม่พบ จึงแจ้งให้หัวหน้าเวรห้องผ่าตัดทราบ และรอสอบถามพยาบาลเวรเช้าซึ่งเป็นผู้นับเครื่องมือก่อนเริ่มการผ่าตัดและได้รับคำตอบว่าเครื่องมือผ่าตัดครบตามรายการที่ระบุไว้ในห่อเครื่องมือ Steriled
หลังจากนั้น 3 สัปดาห์ หัวหน้างาน Supply ของห้องผ่าตัดได้รายงานหัวหน้าพยาบาลห้องผ่าตัดว่าเครื่องมือหายไป 1 ชิ้นพยาบาลวิชาชีพซึ่งปฏิบัติหน้าที่หัวหน้าทีมช่วยผ่าตัดในวันเกิดเหตุได้จ่ายเงินชดใช้ค่าเครื่องมือที่หายไปตามระเบียบของห้องผ่าตัด
ต่อมาในวันที่ 25มิถุนายน 2540 ผู้ป่วยถูกส่งตัวเพื่อผ่าตัดเอาเครื่องมือผ่าตัดออกจากช่องท้อง พบว่ามี Curved Artery Clamp ค้างอยู่ในช่องท้อง 1ชิ้น จากการผ่าตัดเมื่อวันที่ 10เมษายน 2538
“การตกค้างของสิ่งแปลกปลอมหลังการผ่าตัด ทำให้ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บ บางรายอาจจะเสียชีวิต และยังส่งผลกระทบต่อชื่อเสียง ความเป็นมืออาชีพของแพทย์ สร้างความเสียหายของชื่อเสียงของโรงพยาบาลและระบบสุขภาพ อาจจะมีผล กระทบร้ายแรงจากการถูกฟ้องร้องทางกฎหมาย
เมื่อตรวจพบผู้ป่วยอาจจะต้องถูกผ่าตัดซ้ำ หรือเข้ารักษาในโรงพยาบาลบ่อย เพื่อรักษาภาวะแทรกซ้อนจากปัญหาสิ่งแปลกปลอมหลังการผ่าตัด
-
มาตรา ๓๓ บุคคลผู้ซึ่งได้รับความเสียหายเพราะผู้ประกอบ วิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการ ผดุงครรภ์ประพฤติผิดจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและ การผดุงครรภ์มีสิทธิกล่าวหาผู้ก่อให้เกิดความเสียหายนั้น โดย ทําเรื่องยื่นต่อสภาการพยาบาล
-
กระทำความผิดที่โรงพยาบาล
-
โรงพยาบาลเอกชน
กฎหมายแพ่ง
การชดใช้สินไหมทดแทน
เมื่อโรงพยาบาลเอกชนได้ดำเนินชดใช้เรื่องค่าสินไหมทดแทน ให้แก่ผู้ป่วยหรือผู้ที่จัดการแทนผู้ป่วยแล้ว หากพิจารณาได้ว่าแพทย์ดังกล่าวได้กระทำการรักษาโดย เกิดจากความผิดพลาดหรือกระทำโดยประมาทในการรักษาโรงพยาบาลเอกชนก็ดำเนินการใช้สิทธิไล่ เบี้ยกับแพทย์ที่ทำการรักษาผู้ป่วยได้เต็มจำนวนตามมาตรา ๔๒๖
หากความผิดพลาดในการรักษาเกิดกับแพทย์ แพทย์ก็ต้องมีความผิดในการกระทำของตัวแพทย์เอง โดยเกิดจากการกระทำโดยละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาใช้บังคับเพราะไม่มีกฎหมายเกี่ยวกับความรับผิดของแพทย์ โดยเฉพาะ
ผู้ป่วยหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง กับผู้ป่วยจะดำเนินการฟ้องร้องกับแพทย์ทางละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ และฟ้องโรงพยาบาลเอกชนใน ฐานะที่เป็นนายจ้างตามมาตรา ๔๒๕
หากพยาบาลนั้นทำงานในสถานพยาบาลเอกชนและพยาบาลทำละเมิดก็ต้องชดใช้สินไหมทดแทนโดยนายจ้างคือสถานพยาบาลต้องรับผิดด้วยและย่อมมีสิทธิไล่เบี้ยเอากับพยาบาลได้เต็มจำนวนโดยไม่ต้องพิจารณาว่าพยาบาลทำละเมิด โดยจงใจประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือประมาทเลินเล่อธรรมดา ดังเช่นโรงพยาบาลของรัฐ
-
มาตรา ๔๒๖ นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอกเพื่อละเมิดอันลูกจ้างได้ทำนั้น ชอบที่จะได้ชดใช้จากลูกจ้างนั้น
-
-
กฎหมายอาญา
มาตรา 59 วรรค 4 กระทำโดยมิใช่เจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีความวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังนั้นได้ แต่หาได้ใช้ความระมัดระวังเพียงพอไม่
-
ปัญหาการตกค้างของสิ่งแปลกปลอมหลังการผ่าตัด มีอัตราการเกิดระหว่าง 0.3 ถึง 1.0 ต่อการผ่าตัดช่องท้อง 1,000 ครั้ง ทำให้เกิดการทำหัตถการซ้ำ 70% เกิดการเจ็บป่วยของคนไข้ 80% และเกิดการเสียชีวิตของคนไข้ 35% นอกจากนี้ ยังทำให้ค่าใช้จ่ายทางการแพทย์เพิ่มขึ้น การฟ้องร้องมีแนวโน้มมากขึ้น ทั้งนี้ สิ่งของที่ตกค้างหลังการผ่าตัดที่พบมากที่สุด ผ้าก๊อซซับเลือด เข็มเย็บผ่าตัด และเครื่องมือผ่าตัด พบบ่อยในการผ่าตัดทางช่องท้อง 52% ผ่าตัดทางนรีเวช 22% และผ่าตัดระบบทางเดินปัสสาวะและหลอดเลือด 10% โดยการผ่าตัดช่องท้องที่พบปัญหาบ่อยที่สุด คือ การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และการผ่าตัดมดลูกผ่านทางหน้าท้อง
สถานการณ์โดยย่อ
-
-
-
-
อย่างไร
-
-
-
-
-
2 ปีต่อมาจึงได้ทราบว่ามีเครื่องมือติดอยู่ในท้องผู้ป่วย เนื่องจากผู้ป่วยถูกส่งตัวมารักษาเพื่อผ่าตัดเอาเครื่องมือออก
การยินยอม
ผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล ซึ่งพยาบาลช่วยเหลือ ดูแล ร่วมกับทีมการพยาบาลจะต้องให้ความยินยอมจึงจะให้การรักษาพยาบาลได้ ซึ่งเป็นหลักกฎหมายทั่วไปที่ว่ายินยิมแล้วไม่มีความผิดในทางกฎหมายอาญา
จากสถานการณ์ที่ให้มาไม่ได้ชี้แจงว่าผู้ป่วยยินยอมหรือไม่ และไม่มีข้อมูลว่ามีญาติหรือไม่ เนื่องจากแพทย์วินิจฉัยแล้วจำเป็นต้องทำการผ่าตัดด่วน ให้การรักษาตามแนวทางมาตรฐาน ซึ่งเป็นกรณีฉุกเฉินแพทย์ต้องรีบผ่าตัดโดยไม่ต้องรอให้ความยินยอมก่อน
กฎหมายแพ่ง
มาตรา 373 การยินยอมก่อนการผ่าตัดนั้น หากมีข้อตกลงว่าแพทย์จะไม่รับผิดชอบใดๆ หากเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของแพทย์หรือญาติลงชื่อว่าไม่เอาเรื่องแพทย์ทั้งสิ้นหากแพทย์กระทำการโดยประมาทเลินเล่อ ข้อตกลงนี้ก็ไม่มีผลบังคับได้ เพราะเป็นโมฆะ
-
-
-
-