Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล
การติดเชื้อในโรงพยาบาล หมายถึง การติดเชื้ออันเป็นผลจากการที่ผู้ป่วยหรือผู้รับบริการได้รับเชื้อจุลชีพขณะอยู่โรงพยาบาลซึ่งเชื้อจุลชีพอาจเป็นเชื้อที่มีอยู่แล้วในตัวผู้ป่วย (Endogenousorganism) หรือเป็นเชื้อจากภายนอกร่างกายผู้ป่วย (Exogenousorganism) โดยที่ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ผู้ป่วยไม่มีอาการแสดงของการติดเชื้อ และไม่ได้อยู่ในระยะฟักตัวของเชื้อ หากไม่ทราบว่าระยะฟักตัวของเชื้อในโรงพยาบาลถือว่าเป็นการติดเชื้อในโรงพยาบาล
เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายจากผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือผู้ที่เป็นพาหะของโรคไปสู่ผู้อื่นได้ด้วยวิธีต่างๆบุคลากรต้องมีความรู้เกี่ยวกับวิธีแพร่กระจายเชื้อ เพื่อสามารถป้องกันผู้ป่วยและตนเองให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อและป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากการติดเชื้อ วิธีการแพร่กระจายเชื้อ มี 3 วิธี
2.การแพร่กระจายเชื้อโดยละอองฝอยน้ำมูกน้ำลาย (Droplet transmission)
3.การแพร่การจายเชื้อทางอากาศ(Airborne transmission)
1.การแพร่กระจายเชื้อโดยการสัมผัส (Contact transmission) แบ่งออกเป็น การสัมผัสทางตรง (Direct contact transmission) การสัมผัสทางอ้อม (Indirect contact transmission)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล มี 3 ปัจจัย
2.สิ่งแวดล้อม หมายถึง อาคารสถานที่ เครื่องมือ เครื่องใช้ บุคลากร และญาติที่มาเยี่ยมผู้ป่วย น้ำดื่ม ฯลฯ ถ้ามีเชื้อโรคในสิ่งแวดล้อมมากผู้ป่วยจะมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคมากขึ้น
3.คน เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สำคัญ ถ้าบุคลากรหรือผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันลดลงจะมีความเสี่ยงในการติดเชื้อได้ง่าย
1.เชื้อก่อโรค ส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคที่เรียและมักเป็นเชื้อประจำถิ่นส่วนน้อยเป็นเชื้อจากผู้ป่วยอื่นบุคลากร หรือสิ่งแวดล้อม
กลไกลการติดเชื้อที่สำคัญ ได้แก่
1.การสัมผัส เกิดขึ้นกัยการจับต้องผู้ป่วยโดยตรง หรือการสัมผัสที่เกิดขึ้นจากการใช้เครื่องมือต่างๆ พาหะที่สำคัญที่สุดในการนำเชื้อสู่ผู้ป่วย คือ มือ เครื่องมือ เครื่องใช้ที่ไม่ได้รับการกำจัดเชื้อที่ถูกต้อง ก็ทำให้มีการแพร่เชื้อได้ง่าย
2.การแพร่เชื้อทางอากาศ ส่วนใหญ่เป็นเชื้อไวรัส เช่นไข้หวัด หัด อีสุกอีใส ฯ
หลักการควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล การควบคุมโรคแม้ไม่ทำให้โรคติดเชื้อลงได้ การควบคุมควรกระทำไปเพื่อแก้ปัจจัยของการติดเชื้อ
:warning:การป้องกันการนำเชื้อโรคเข้าสู่ผู้ป่วย เช่น การกำจัดเชื้อบนเครื่องมือ การดูแลสิ่งแวดล้อม เข้มงวดในการล้างมือ ฯ
:warning:เสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ผู้ป่วย เช่น การรักษาโรค การให้อาหารเสริม
:warning:การกำจัดแหล่งเชื้อโรค เช่น แยกผู้ป่วยที่ติดเชื้อ ดูแลเครื่องมือให้สะอาด
หลักการป้องกันการติดเชื้อ และควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ Isolation Precautions หมายถึง การปฏฺิบัติเพื่อป้องกันการติดเชื้อและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อจากผู้ป่วยสู่ สถานบริการสาธารณสุข
Standard Precautions หมายถึง ปฏิบัติขั้นพิ้นฐานเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่ใช้กับผู้ป่วยทุกรายที่รับบริการจากโรงพยาบาล โดยไม่คำนึงถึงการวินิจฉัยของโรต หรือภาวะติดเชื้อของผู้ป่วย
:black_flag:การใช้อุปกรณ์ป้องกันร่างกายส่วนบุคล
:black_flag:การป้องกันไม่ให้บุคลากรได้รับอุบัติเหตุจากของมีคม และสัมผัสสารคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
:black_flag:การทำความสะอาดมือ
:black_flag:การจัดสถานที่ให้ผู้ป่วย
:black_flag:การจัดการเครื่องผ้า
:black_flag:การดูแลสิ่งแวดล้อม
:black_flag:การปฏิบัติเพื่อทำให้ปราศจากเชื้อสำหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์
2.Transmission Based Precautions หมายถึง การปฏิบัติเพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ ซึ่งใช้กับผู้ป่วยที่ทราบว่าเป็นโรคเชื้อ ซึ่งการใช้มาตรการนี้จะขึ้นกับลักษณะหนทางการแพร่กระจายเชื้อโรคของผู้ป่วย แบ่งเป็น 3 ประเภท
2.การป้องกันการติดเชื้อทางละอองเสมหะ (Droplet precautions) ป้องกันการกระจายเชื้อโรคจากละอองเสมหะ น้ำมูก น้ำลาย ที่มีขนาดใหญ่
:red_flag:ให้จัดเตียงผู้ป่วยไว้ห่างกันไม่น้อยกว่า 3 ฟุต และมีอากาษถ่ายเท
:red_flag:ถ้ามีการย้ายผู้ป่วยออกนอกต้องให้ผู้ป่วยใส่ผ้าปิดปากและจมูก และแจ้งให้หน่วยงานทราบล่วงหน้าเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
:red_flag:เตรียมภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด มีถุงมูลฝอยรองรับสารคัดหลั่ง แล้วทิ้งในถังมูลฝอยติดเชื้อ
3.การป้องกันการติดเชื้อจากการสัมผัส (Contact precaution) การป้องกันการติดเชื้อ สำหรับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรค ที่สามารถแพร่กระจายเชื้อทางการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม
:red_flag:หลังดูแล หรือเข้าเยี่ยมต้องล้างมือแบบ hygienic hand washing ทุกครั้ง แนะนำญาติให้หลีกเลี่ยงการสัมผัสเครื่องมือและ ผู้ป่วย
:red_flag:สวมถุงมือและผ้ายางทุกครั้งเมื่อจับผู้ป่วยและถอดออกก่อนออกจากห้องผู้ป่วย
1.การป้องกันการติดเชื้อทางอากาศ (Airborne) เกิดจากละอองฝอยเล็กกว่า 5 ไมครอน
:red_flag:ปิดประตูทุกครั้ง หลีกเลี่ยงการใช้พัดลม
:red_flag:ผู้เข้าเยี่ยม หรือผู้ดูแลต้องใส่ผ้าปิดปากและจมูกชนิด N-95 ล้างมือแบบ Hygienic hand washing หลังการเยี่ยม
:red_flag:จัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยกความดันลบ
:red_flag:ให้ผู้ป่วยใช้ผ้าหรือกระดาษปิดจมูกเวลาไอจาม และใส่ผ้าปิดจมูกชนิดธรรมดาตลอดเวลา
อ้างอิง :star: อยู่ข้างหลังค่ะ