Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เเนวคิดทางด้านพฤติกรรม - Coggle Diagram
เเนวคิดทางด้านพฤติกรรม
เป้าหมาย
เพื่อบรรยาย ว่าบุคคลหรือเผ่าพันธุ์มีพฤติกรรมอย่างไร
เพื่อเข้าใจถึงสาเหตุการเกิดกิจกรรมต่างๆ
เพื่อทำนาย ว่าบุคคลเเละสัตว์ต่างๆจะมีพฤติกรรมภายใต้เงื่อนไขอย่างไร
เพื่อมีอิทธิพล ต่อพฤติกรรมตลอดจนควบคุมถึงสาเหตุที่เกิดขึ้น
เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ ความรู้ทางด้านจิตวิทยา
ความหมาย
จิตวิทยา
วิทยาศาสตร์ที่ศึกษาถึงกระบวนการทำงานทางจิต
พฤติกรรม
การกระทำที่สามารถสังเกตได้ หรือ ปฏิกิริยาที่บุคคลมีชีวิต
ความสัมพันธ์พันธุ์ระหว่างจิตวิทยากับพฤติกกรม
สังคมศาสตร์ คือ สาขาที่มีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์เเละสังคม ประกอบศาสตร์ที่เป็นเอกเทศจากกัน
เป็นสาขาที่รวมความหมายใน 2 นัยดังกล่าว เเละมุ่งเน้นเฉพาะความสนใจที่จะศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์โดยตรง
เป็นสาขาที่รวมความหมายใน 2 นัยดังกล่าว เเละมุ่งเน้นเฉพาะความสนใจที่จะศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษย์โดยตรง
• พันธุกรรมเเละสิ่งเเวดล้อม หรือพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลมาจากพันธุกรรม
• จิตรู้สำนึกเเละจิตใต้สำนึก เป็นสาเหตุเเห่งพฤติกรรมมนุษย์
• พฤติกรรมมนุษย์สามารถสังเกตได้ เเละมีกระบวนการทำงานทางจิตใต้สำนึก
• พฤติกรรมมนุษย์มีอิสระเเละถูกกำหนดควบคุมพฤติกรรมในการเเสดงออก
• พฤติกรรมมนุษย์มีความเเตกต่างระหว่างบุคคลเเละมีหลักเเห่งพฤติกรรมที่เป็นสากล
พฤติกรรมมนุษย์มีความเเตกต่างระหว่างบุคคลเเละมีหลักเเห่งพฤติกรรมที่เป็นสากล
กลุ่มโครงสร้างนิยม(Structuralism)
จิตประกอบด้วย 3 ส่วน
จินตนาการ
จินตนาการ
ประสาทสัมผัส
กลุ่มหน้าที่เเห่งจิต(Functionalism)
จิตเปรียบเสมือนสายธารที่ไม่สามารถจะเเยกออกจากกันได้จิต คือ กระเเสสายธารเเห่งความคิด
กลุ่มจิตวิเคราะห์
sigmund freud
ธรรมชาติจะมีเเรงขับทางเพศเเละความก้าวร้าว
Freud
เเรงจูงใจต่างๆเหล่านี้ เป็นเเรงผลักดันที่สำคัญเเละอยู่เบื้องหลังพฤติกกรม เรียกว่า จิตไร้สำนึก
กลุ่มพฤติกรรมนิยม(Behaviorism)
John B.Watson
พฤติกรรมมนุษย์ที่สามารถสังเกตเห็นได้ อันเป็นผลมาจากสิ่งเร้าในสิ่งเเวดล้อมการตอบสนองซึ่งเป็นปฏิกิริยาของพฤติกรรมที่สามารถสังเกตเห็นได้เเละเชื่อว่า จิตหรือสมองเเละระบบประสาท เปรียบเสมือนกล่องดำ ที่ไม่สามารถมองเห็นได้
กลุ่มเกสตอลท์
Max wertheimer
เเนวโน้มที่บุคคลจะมองเห็นเเละมีการเเยกวัตถุออกจากพื้นหลัง
การเรียนรู้เเบบหยั่งเห็น
กลุ่มมนุษย์นิยม(Humanistic)
• carl เเละ abrahamธรรมชาติมนุษย์ทุกคนมีเเนวโน้มที่จะเเสวงหาเพื่อการเจริญเติบโตพัฒนา เเละพัฒนาตนเองอย่างเต็มศักยภาพ
กลุ่มการคิด(Cognitive)
Herbert Simonจิตของมนุษย์จะมีความเข้าใจได้ดีหากมีการนำมาเปรียบเทียบกับการทำงานของการประมวลข้อมูลของคอมพิวเตอร์
กลุ่มวิทยาศาสตร์ประสาท หรือ ศาสตร์เเห่งสมอง
• santiago ramon y cajalสมองมีการสร้างการทำงานที่เป้นเครือข่ายโดยมีเซลล์สมองเป็นพื้นฐาน
• wilder penfieldผู้ที่ทำการศึกษาหน้าที่ของสมองซีกซ้ายเเละขวาของผู้ป่วยโรคลมชักที่ได้ผ่าตัดศัยกรรมสมองเพื่อลดอาการลมชัก
กลุ่มสังคมวัฒนธรรม
• Harry Triandisเเนวทัศน์ทางด้านสังคมเเละวัฒนธรรม ชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของวัฒนธรรมจริยธรรมเเละบทบาททางเพศ
กลุ่มวิวัฒนาการ
David Buss
ได้เสนอเเนวคิด เขาเชื่อว่า วิวัฒนาการจะขัดเกลาลักษณะทางสรีระของบุคคล
Mary calkins
ได้ทำการวิจัยทางด้านความทรงจำ
Christine ladd-franklin
ได้ศึกษาเรื่องการมองเห็นสี
วิธีการศึกษาทางจิตวิทยา
การสังเกต(observation)
การสังเกตเชิงสำรวจ
• การสังเกตในห้องปฏิบัติการ
• การสังเกตอย่างเป็นตามธรรมชาติ
การสำรวจ
เทคนิคที่ใช้ตอบคำถามทางด้านจิตวิทยาเกี่ยวกับเจตคติ ความถนัด เเละพฤติกรรมอื่นๆ
การศึกษาเป็นรายกรณี
• การศึกษาเชิงลึกของบุคคลเพียง 1 คน ในทุกๆด้าน
การใช้เเบบทดสอบที่เป็นมาตราฐาน
เครื่องมือที่ให้บุคคลตอบข้อเขียน หรือ ตอบปากเปล่า
การศึกษาความสัมพันธ์
• เป็นรูปเเบบของงานวิจัยที่ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเเปร 2 ชนิด
การวิจัยเชิงทดลอง
เป็นการศึกษาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์
เป็นการศึกษาที่ใช้ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์
• ปกป้องอันตรายที่เกิดกับผู้ทดลอง
• ปกป้องอันตรายที่เกิดกับผู้ทดลอง
• ต้องได้รับการยินยอมหรือสมัครใจของผู้ถูกศึกษา
• ต้องได้รับการยินยอมหรือสมัครใจของผู้ถูกศึกษา
สาขาทางด้านจิตวิทยา
สาขาทางด้านจิตวิทยา
จิตวิทยาพฤติกรรม วิทยาศาสตร์ประสาท
จิตวิทยาการทดลอง
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาสังคม
จิตวิทยาบุคลิกภาพ
จิตวิทยาสุขภาพ
จิตวิทยาชุมชน
จิตวิทยาโรงเรียนเเละการศึกษา
จิตวิทยาอุตสาหกรรมเเะลองค์กร
จิตวิทยาสิ่งเเวดล้อม
จิตวิทยาข้ามวัฒนธรรม
การประยุกต์จิตวิทยากับพฤติกรรม
ทางด้านจิตสรีระ
ทางด้านคลินิก
ด้านศักยภาพการคิด
ด้านการให้คำปรึกษา
ด้านพัฒนาการ
ด้านการศึกษา
ด้านการทดลอง
ด้านวัฒนธรรมเเละบทบาททางเพศ
ด้านอุตสาหกรรมเเละองค์กร
ด้านสังคม