Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การวางแผนการพยาบาลความท้าทายของนักศึกษาพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ 6 การวางแผนการพยาบาลความท้าทายของนักศึกษาพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล เป็นการกำหนดวิธีปฏิบัติการพยาบาลตามการประเมิน สุขภาพและการวินิจฉัยการพยาบาลซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ
1.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
2.การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์กำรพยาบาล
3.การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาลหรือ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง
4.การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
1 การจัดลำดับความสำคัญของข้อวินิจฉัยการพยาบาล
หลักการพิจารณาความสำคัญของข้อวินิจฉัยการพยาบาล
(1) ปัญหำที่มีควำมสำคัญอันดับแรก
เป็นปัญหำที่มีควำมสำคัญมำกหรือเป็นปัญหำที่เร่งด่วนเนื่องจำกมีอันตรำยต่อชีวิตของผู้ป่วยจึงต้องกำรควำมช่วยเหลือทันที
(2) ปัญหำที่มีควำมสำคัญอันดับสอง
เป็นปัญหำที่มีควำมสำคัญระดับปำนกลำง ไม่จำเป็นต้องช่วยเหลือเร่งด่วนเหมือนปัญหำที่มีควำมสำคัญอันดับแรกแต่ก็ต้องให้ควำมช่วยเหลือโดยเร็วเนื่องจำกถ้ำทิ้งไว้นำนอำจเกิดปัญหำรุนแรงขึ้น
(3) ปัญหำที่มีควำมสำคัญอันดับหลัง
เป็นปัญหำที่ต้องกำรควำมช่วยเหลือแต่สำมำรถรอได้เนื่องจำกกำรดำเนินของปัญหำเป็นไปอย่ำงช้ำ ๆ และไม่ได้เกิดอันตรำยต่อผู้ป่วยในระยะเวลำอันใกล้
กำรจัดลำดับควำมสำคัญของปัญหำสำมำรถปรับเปลี่ยนอันดับควำมสำคัญได้ตำมสถำนกำรณ์และข้อมูลที่บ่งชี้ว่ำปัญหำสุขภำพใด จะเกิดอันตรำยกับผู้รับบริกำรมำกน้อยเพียงใด โดยไม่ได้ขึ้น อยู่กับว่ำปัญหำทำงด้ำนร่ำงกำยจะมีควำมสำคัญมำกกว่ำปัญหำทำงด้ำนจิตสังคม หรือปัญหำที่เกิดขึ้น แล้วจะสำคัญมำกกว่ำปัญหำที่ยังไม่ได้เกิดขึ้น (เสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำ)
2 การกำหนดเป้าหมายของการพยาบาล
เป้ำหมำยหรือวัตถุประสงค์ของกำรพยำบำลได้มำจำกกำรพิจำรณำแต่ละปัญหำหรือแต่ละข้อวินิจฉัยกำรพยำบำลว่ำหลังจำกให้กำรพยำบำลผู้ป่วยแล้วพยำบำลมีควำมคำดหวังให้ผู้ป่วยเกิดกำรเปลี่ยนแปลงภำวะสุขภำพอย่ำงไร เป้ำหมำยของกำรพยำบำลที่สอดคล้องกับข้อวินิจฉัยกำรพยำบำล จะเป็นแนวทำงกว้ำงๆมีประโยชน์ต่อกำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลเพื่อให้สำมำรถแก้ไขปัญหำสุขภำพได้ตรงประเด็นและสำมำรถบอกเกณฑ์กำรประเมินผลกำรพยำบำลได้สอดคล้องกับปัญหำ
แนวทำงในกำรกำหนดเป้ำหมำยของกำรพยำบำล
(1) เขียนข้อควำมกว้ำงๆ ที่เป็นกำรคำดหวังว่ำต้องกำรให้ผู้ป่วยมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำงไร โดยไม่ต้องระบุรำยละเอียดหรือระดับของกำรเปลี่ยนแปลง (ถ้ำมีรำยละเอียดจะเป็นเกณฑ์กำรประเมินผล)
(2) คำที่ใช้ในกำรกำหนดเป้ำหมำยของกำรพยำบำลสำมำรถใช้ได้หลำยคำ เช่น เพิ่ม ลด บรรเทำ ป้องกัน รักษำ คงสภำพ ปรับปรุง พัฒนำ ส่งเสริม ฯลฯ
(3) กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพยำบำลต้องให้สอดคล้องกับปัญหำสุขภำพหรือ ข้อวินิจฉัยกำรพยำบำล โดยมีหลักกำรเขียน ดังนี้
(3.1) ข้อวินิจฉัยที่เป็นภำวะสุขภำพดี กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพยำบำลจะมุ่งเน้นให้ดำรงพฤติกรรมสุขภำพที่ดีนั้นตลอดไป หรือสนับสนุนภำวะสุขภำพนั้นให้ดีขึ้นเรื่อยๆ
(3.2) ข้อวินิจฉัยที่เป็นปัญหำสุขภำพที่เกิดขึ้นแล้ว กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพยำบำล เพื่อบรรเทำปัญหำ ทำให้ปัญหำหมดไป หรือป้องกันภำวะแทรกซ้อนจำกปัญหำที่เกิดขึ้นนั้นๆ
(3.3) ข้อวินิจฉัยที่เป็นปัญหำที่อำจจะเกิดขึ้นหรือเสี่ยงต่อกำรเกิดปัญหำ
กำรกำหนดเป้ำหมำยกำรพยำบำลอำจตั้งเป้ำหมำยเพื่อกำรป้องกันกำรเกิดปัญหำนั้น
(3.4) ปัญหำที่เกี่ยวข้องกับกำรพยำบำล กำรกำหนดเป้ำหมำย เพื่อกำรป้องกันกำรเกิดภำวะแทรกซ้อนหรือให้สำมำรถประเมินกำรเกิดภำวะแทรกซ้อนได้ดีที่สุดโดยไม่เกิดอันตรำยกับผู้ป่วย
(4) กำรกำหนดเป้ำหมำย สำมำรถกำหนดเป็นเป้ำหมำยระยะสั้นหรือ ระยะยำวได้ ขึ้นอยู่กับปัญหำว่ำเป็นปัญหำเฉียบพลันหรือปัญหำเรื้อรัง
(5) ปัญหำสุขภำพหรือข้อวินิจฉัยกำรพยำบำล 1 เรื่องอำจมีเป้ำหมำยของกำรพยำบำล 1 ข้อหรือมำกกว่ำ 1 ข้อก็ได้ขึ้นอยู่กับว่ำเป้ำหมำยนั้น ๆ สำมำรถแก้ปัญหำได้ครอบคลุมหรือไม่
(6) กำรกำหนดเป้ำหมำยที่ดีนั้นต้องเป็นเป้ำหมำยที่สำมำรถเป็นไปได้และปฏิบัติได้
3 การกำหนดเกณฑ์การประเมินผลการพยาบาล (ผลลัพธ์ที่คาดหมาย)
กำรกำหนดเกณฑ์ในกำรประเมินผลกำรพยำบำลหรือกำหนดผลลัพธ์ที่คำดหวัง เป็นกำร พิจำรณำว่ำกำรที่จะประเมินผลกำรพยำบำล หรือเกิดผลลัพธ์ที่คำดหวังได้นั้น จะประเมินได้จำกข้อบังคับอะไร หรือพฤติกรรมใดของผู้ป่วยที่จะทำให้พยำบำลทรำบว่ำหลังจำกให้ควำมช่วยเหลือผู้ป่วยแล้ว ผลกำรเปลี่ยนแปลงบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่ หรืออำจกล่ำวได้ว่ำเกณฑ์ในกำรประเมินผลกำรพยำบำล เป็นมำตรฐำนที่ใช้ในกำรวัดหรือประเมินผลของกิจกรรมกำรพยำบำลที่บอกให้ทรำบว่ำผู้ป่วยมีกำรเปลี่ยนแปลงหรือไม่บรรลุเป้ำหมำยของกำรพยำบำลหรือไม่มำกน้อยเพียงใด
3.1 แนวทำงกำรกำหนดเกณฑ์กำรประเมินผลกำรพยำบำลที่ดี
(1) เกณฑ์กำรประเมินผลกำรพยำบำล ต้องสอดคล้องกับเป้ำหมำย และข้อวินิจฉัยกำรพยำบำล
(2) เป้ำหมำยของกำรพยำบำลหนึ่งข้อสำมำรถกำหนดเกณฑ์ในกำรประเมินผล กำรพยำบำลได้หลำยเกณฑ์
(3) เกณฑ์กำรประเมินผลกำรพยำบำล ต้องเหมำะสมและปฏิบัติได้จริง โดยพจำรณำ ตำมควำมสำมำรถของผู้ป่วยที่จะปฏิบัติได้
(4) เกณฑ์กำรประเมินผลกำรพยำบำล ต้องเป็นเกณฑ์มำตรฐำนที่ชี้เฉพำะเจำะจง เป็นรูปธรรม สำมำรถสังเกตได้ วัดหรือประเมินได้ชัดเจน โดยมีกำรระบุระดับของพฤติกรรมของผู้รับบริกำรที่ต้องกำรเปลี่ยนแปลง ซึ่งอำจกำหนดเป็น ระยะทำงระยะเวลำค่ำปกติของผลกำรตรวจวัดต่ำง ๆ หรือ คุณภำพของพฤติกรรมที่ต้องกำรให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลง
3.2 เกณฑ์กำรประเมินผลที่กว้ำงกับเกณฑ์กำรประเมินผลที่เฉพำะเจำะจง
เกณฑ์กำรประเมินผลที่มีควำมหมำยกว้ำงมีควำมแตกต่ำงจำกเกณฑ์กำรประเมินผลที่ แสดงให้เห็นว่ำมีควำมเฉพำะเจำะจง
3.3 กำรกำหนดเกณฑ์กำรประเมินผลกำรพยำบำลที่สอดคล้องกับเป้ำหมำยและข้อวินิจฉัยกำรพยำบำล
4 กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำล
กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำล เป็นกำรกำหนดวิธีปฏิบัติกำรพยำบำลต่ำง ๆหรือรำยละเอียด ของวิธีกำรให้ควำมช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อแก้ไขปัญหำสุขภำพให้บรรลุตำมวัตถุประสงค์ของกำรพยำบำลที่กำหนดไว้ กิจกรรมกำรพยำบำลอำจเป็นกำรปฏิบัติกับผู้ป่วยโดยตรง หรือญำติหรือผู้ดูแลก็ได้
4.1 ชนิดของกิจกรรมกำรพยำบำลกิจกรรมกำรพยำบำล หรือ กำรปฏิบัติกำรพยำบำล ประกอบด้วย
1) บทบำทอิสระ (Independent role
เป็นกิจกรรมหรือกำรปฏิบัติกำรพยำบำลที่พยำบำลสำมำรถปฏิบัติได้ด้วยตนเองตำมขอบเขต ของกฎหมำยโดยไม่ต้องมีคำสั่งกำรรักษำของแพทย์
(2) บทบำทไม่อิสระ (Dependent and Collaborative role
เป็นกิจกรรมหรือกำรปฏิบัติกำรพยำบำลที่พยำบำลปฏิบัติตำมแผนกำรรักษำของแพทย์หรือเป็นกำรช่วยเหลือแพทย์ในกำรตรวจรักษำโรค
4.2 แนวทำงกำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำล
(1) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลต้องสอดคล้องกับข้อวินิจฉัยกำรพยำบำลและวัตถุประสงค์ของกำรพยำบำล
(2) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรให้ครอบคลุมบทบำท 4 มิติของกำรพยำบำล คือกำรส่งเสริมหรือสร้ำงเสริมสุขภำพ กำรป้องกันโรค กำรดูแลรักษำ และกำรฟื้นฟูสภำพร่ำงกำย
(3) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรกำหนดให้ครอบคลุมองค์รวม คือ
ให้แก้ไขปัญหำทั้งทำงด้ำนร่ำงกำยจิตใจ อำรมณ์ สังคม และจิตวิญญำณ
(4) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรให้ผู้ป่วยและครอบครัวมีส่วนร่วมในกำรปฏิบัติ หรือดูแลตนเองเพื่อให้กำรแก้ไขปัญหำของผู้ป่วยบรรลุเป้ำหมำยได้มำกที่สุด
(5) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลต้องครอบคลุมกิจกรรมที่เกี่ยวกับกำรรักษำควำมปลอดภัยหรือป้องกันอันตรำยผู้ป่วยจำกภำวะเสี่ยงต่ำงๆ(Risks management)
(6) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรเป็นกิจกรรมที่ทั้งพยำบำลและผู้ป่วยสำมำรถปฏิบัติได้ในสถำนกำรณ์นั้น ๆ โดยพิจำรณำตำมควำมสำมำรถของผู้ป่วย รวมทั้งเจ้ำหน้ำที่ อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ และสิ่งแวดล้อมที่เหมำะสม
(7) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรประยุกต์จำกตำรำให้เหมำะกับสถำนกำรณ์ของผู้ป่วยแต่ละรำยไม่กำหนดตำมทฤษฎีหรือตำรำทั้งหมด
(8) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรเป็นกิจกรรมที่ไม่ขัดแย้งกับแผนกำรรักษำของ แพทย์
(9) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลควรเป็นกิจกรรมที่ไม่ขัดกับควำมเชื่อ ศำสนำ วัฒนธรรมของผู้ป่วย
(10) กำรกำหนดกิจกรรมกำรพยำบำลต้องคำนึงถึงจริยธรรมทำงกำรพยำบำลและสิทธิผู้ป่วย เช่น กำรให้ข้อมูลต่ำงๆแก่ผู้ป่วย กำรเปิดเผยควำมลับผู้ป่วย