Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาที่ออกฤทธิต่อระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
ยาที่ออกฤทธิต่อระบบต่อมไร้ท่อ
เบาหวาน
แบ่งได้ 4 ประเภท
ประเภทที่1 (type I DM)
: ไม่มีอินซูลินหลั่งออกมา จากตับอ่อน ต้องการอินซูลินจากภายนอกร่างกาย
ประเภทที่ 2 (type II DM)
: มีอินซูลินหลั่งออกจากตับอ่อนน้อย และเกิดการดื้อต่ออินซูลิน
ประเภทที่3
: โรคเบาหวานจากสาเหตอื่นๆ เช่น พันธุกรรม โรคตับอ่อน ยาบางชนิด เช่น ยากลุ่มสเตียรอยด์
ประเภทที่4 (gestational diabetes)
: โรคเบาหวานที่เกิดขณะตั้งครรภ์
การรักษา
1.การรักษาโดยไม่ใช้ยา เช่น ควบคุมอาหาร ออกำลังกาย 2. การรักษาโดยการใช้ยา
2.1 ยาฉีดอินซูลิน(insulin)
2.2 ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด(hypoglycemic drugs)
Insulin
ข้อบ่งใช้ ลดระดับน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานทุกประเภท
type I DM,gestational DM ใช้เฉพาะอินซูลินเท่านั้น
type II DM ใช้ในกรณีต่างๆ ผลข้างเคียง ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycemia) อาการหัวใจเต้นเร็ว เหงื่อออกมาก ปวดหัว สั่น อ่อนเพลีย ซึม หมดสติ
Inhaled insulin ชนิดสูดพ่นเข้าปอด
Afrezza
ออกฤทธิ์เร็ว 2.5-3 ชั่วโมง ใช้ภายใน20 นาทีหลังจากเริ่มรับประทานอาหาร
อาการข้างเคียง ไอ ระคายเคืองคอ เจ็บคอ
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด (hypoglycemic drugs)
ใช้สำหรับผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
Sulfonylureas
กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน
ผลข้างเคียง น้ำหนักตัวเพิ่ม ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ
ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่แพ้ยากลุ่ม sulfonamide ห้ามใช้ในภาวะที่ตับ ไต ทำงานบกพร่อง ตัวอย่าง Gliclazide MR Glipizide Gliclazide Glimepiride Chlorpropamide Glibenclamide Tolbutamide Tolazamide Acetohexamide
Meglitinides
ยาในกลุ่ม:Repaglinide,Nateglinide
กลไกการออกฤทธิ์ : กระตุ้นการหลั่งอินซูลินจากเบต้าเซลล์ที่ตับอ่อน
อาการไม่พึ่งประสงค์ น้ำหนักตัวเพิ่ม ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ กินพร้อมกับยา gemfibrozil เพิ่มความเสี่ยงต่อภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
Biguanides
ตัวยา Metformin กลไกการออกฤทธิ์ : เพิ่มการนำกลูโคสเข้าเซลล์กล้ามเนื้อและเพิ่มการใช้
ข้อห้ามใช้ : ห้ามใช้กับผู้ป่วยที่มีภาวะไตทํางานบกพร่อง หัวใจวาย ระบบไหลเวียนล้มเหลว เพราะอาจทําให้เกิดภาวะกรดแลกติคคั่งในเลือด ห้ามใช้ร่วมกับแอลกอฮอล์ ผลข้างเคียง ทำให้เบื่ออาหาร อาเจียน ทำให้ขาดวิตามิน B12และfolic acid
Thiazolidinediones
Pioglitazone
ลดการดื้อของอินซูลิน
อาการไม่พึ่งประสงค์ บวมน้ำ พิษต่อตับ เช่น ตัวเหลือง ปัสสาวะสีดำ
alpha-glucosidase inhibitors
Acarbose, Voglibose, Miglitol
กลไกการออกฤทธิ์ ลดการย่อยและการดูดซึมคาร์โบไฮเดรตเข้าสู่ร่างกาย ห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
อาการไม่พึ่งประสงค์ ปวดท้อง ท้องเสีย โลหิตจาง เป็นพิษต่อตับเมื่อใช้ระยะยาว
incretin-based drugs
1.กระตุ้นตัวรับ G L P - 1
ชื่อสามัญทางยา: Exenatide, Liraglutide, Albiglutide, Dulaglutide กลไกการออกฤทธิ: ส่งผลให้การกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน ยับยั้งการหลั่งกลูคากอน
ผลข้างเคียง เบื่ออาหาร คลื่นไส้ น้ำหนักลด ห้ามใช้ในผู้ป่วยไตวาย
2.ยับยั้งเอนไซม์ DPP-4 (DPP-4 inhibitors)
กลไกการออกฤทธิ: ลดการทำลายฮอร์โมน GLP-1 และ GIP
อาการไม่พึ่งประสงค์ เยื่อจมูกอักเสบ
ตัวอย่างยา : Sitagliptin, Vildagliptin, Saxagliptin
SGLT-2 inhibitors SGLT-2
= sodium glucose cotransporter-2
ชื่อสามัญทางยา:Canagliflozin,Empagliflozin,Dapagliflozin กลไกการออกฤทธิ์ ลดปริมาณกลูโคสในเลือด
ผลข้างเคียง เกิดการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
Amylin mimetics
Pramlintide (รูปแบบยาฉีด) ลดน้ำตาลในเลือดผู้ป่วยเบาหวานทั้งชนิด1และ2
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดหัว น้ำตาลในเลือดต่ำ
Glucagon
ข้อบ่งใช้ น้ำตาลในเลือดต่ำขั้นวิกฤตจากภาวะต่างๆ กลไกการออกฤทธิ์ ลดการสั่งเคราะห์กลัยโคเจน
ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน ห้ามใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
ความผิดปกติของต่อมธัยรอยด์ (Thyroid disorders)
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง (Hyperthyroidism)
Thioamides
ยา : Propylthiouracil (PTU), Methimazole
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้นเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
อาการไม่พึ่งประสงค์ กดไขกระดูกโดยเฉพาะการลดลงของเม็ดเลือดขาว มีผื่นคัน ตับอักเสบ
Lodides
saturated solution of potassium iodide (SSKI), Lugol’s solution กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้นเอนไซม์ที่ใช้สังเคราะห์ฮอร์โมนธัยรอยด์
อาการไม่พึ่งประสงค์ พิษไอโอไดด์ เช่น เป็นไข้ ปวดแสบร้อนในปาก รสชาติโลหะในปาก
Radioactive iodine (RAI) การกินแร่
Iodine-131 (I-131)
กลไกการออกฤทธิ์ : ปล่อยรังสีเบต้าทำลายต่อมธัยรอยด์
อาการไม่พึ่งประสงค์: ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนต่ำ กดไขกระดูก ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ให้นมบุตร และผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม thioamides
ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำ (Hypothyroidism)
Levothyroxine(T4)
มีทั้งรูปแบบยากินและยาฉีด
_ ผลข้างเคียง หากได้รับยามากทำให้ระดับธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดสูง ผู้ป่วยมีอาการหัวใจเต้นเร็ว กระสับกระส่าย ทนร้อนไม่ได้ ห้ามกินร่วมกับยาลดกรดในกระเพาะ ยาลดไขมัน เพราะจะทำให้การดูดซึม Levothyroxine ลดลง
Liothyronine(T3)
มีรูปแบบยากินและยาฉีด
รูปแบบยาฉีด ใช้รักษาภาวะธัยรอยด์ฮอร์โมนในเลือดต่ำระดับรุนแรง
ผลข้างเคียง ระวังปฏิกิริยาระหว่างกันของยา เช่นเดียวกับ Levothyroxine(T4)