Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงไทยอายุ 31 ปี G1PO preg 38 wk 1 d c PROM c GDMA1 - Coggle Diagram
หญิงไทยอายุ 31 ปี
G1PO preg 38 wk 1 d
c PROM c GDMA1
หญิงไทย 31 ปี
ANC risk : GDM A1
C.C.
น้ำเดิน 45 min ก่อน PTA
P.I.
น้ำเดิน 45 min PTA น้ำใสไหลจากช่องคลอด
ลูกดิ้นมากกว่า10ครั้ง ไม่มีไข้ ไม่เจ็บครรภ์ ไม่มีมูกเลือด
N/L 06.10.63 (RML)
ช 2,980 gm
VDRL : non-reactive
HbsAg : Neg
Anti-HIV : Neg
Hb 12.2 mg%, Hct 34.4%
MCV 89.4 ,Hb typing normal
Albumin neg
Sugar neg
ปฏิเสธการแพ้ยา การใช้สารเสพติด
ไม่มีประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ฉีด dT 2 เข็ม
การประเมินมารดาหลังคลอด (13B)
1 Background
2 Body condition
มารดาช่วยเหลือกิจวัตรตนเองได้
Fall score = 23
3 Belieft
ตั้งครรภ์
4 Body temp & Body pressure
Body temp
Day 1 37.5 องศาเซลเซียล
In 24 hrs . : Reactinary fever (<38.0)
Body pressure
Day 1 110/80 mmHg
In 48 hrs. : sys <20 mmHg
Orthostatic hypotension
5 Breast & lactation
D1 หัวนมสั้น น้ำนมยังไม่ไหล
D2 หัวนมสั้น น้ำนมไหลเล็กน้อย
Latch score 6 คะแนน
ระยะที่ 1 Colostrum
1-3 วันเเรก น้ำนมที่ดีที่สุด มีภูมิต้านทาน
ระยะที่ 2 Transitional milk
5-14 วัน เปลี่ยนจากหัวน้ำนม>น้ำนมแม่
ระยะที่ 3 mature milk
14 วันขึ้นไป น้ำนมสีขาว
6 Belly & Uterus
Belly
พบ linea nigra,striae gravidarum
Uterus
D1 ระดับยอดมดลูก 3.5 นิ้ว (ไม่มีbladder full)
D2 ระดับยอดมดลูก 3 นิ้ว
มดลูกลดลงวันละ 0.5 นิ้ว
7 Bladder
ปัสสาวะได้ภายใน 6-8 ชั่วโมง
8 Bleeding & Lochia
D1 น้ำคาวปลาสีแดง
D2 น้ำคาวปลาสีแดงจางลง
ระหว่างคลอด Blood loss 250 ml
Lochia
1-3 วัน rubra สีแดง
4-9 วัน serosa สีชมพู
10 วันขึ้นไป เหลืองใส
*foul lochia เน่า กลิ่นเหม็น
9 Bottom
ฝีเย็บ
(REEDA)
D1 ไม่แดง ไม่บวม ไม่ช้ำ สีแดงสด แผลเย็บชิดติดกันดี
D2 ไม่แดง ไม่บวม ไม่ช้ำ สีแดงจางลง แผลเย็บชิดติดกันดี
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกไม่บวม
ทวารหนักปกติ
10 Bowel moverment
อุจจาระได้ตามปกติวันที่ 2-3
ระวังอาการท้องผูก
Bowel sound
เคาะท้อง
11 Blues
มารดายอมรับบุตร ปรับตัวในการดูแล
Taking in (1-2วันแรก) พึ่งพาผู้อื่น
Taking hold (3-10) สนใจทารกมากขึ้น
Letting go (10วันขึ้นไป) พึ่งพาตนเอง
Baby blue
เป็น 2-3 วันหลังคลอด
หาย 2-3 สัปดาห์
(ร้องไห้ ไม่มีเหตุผล)
12 Bonding & attachment
สัมพันธภาพกับทารกดี
13 Baby
พยาธิสภาพ
ระบบสืบพันธุ์
มดลูก (Uterus)
Involution of uterus
6 สัปดาห์ มดลูกจะนน.50gเท่ากับก่อนตั้งครรภ์
2 wk คลำมดลูกทางหน้าท้องไม่ได้
ลดลงวันละ 0.5 - 1 นิ้วต่อวัน
เยื่อบุมดลูก(Endometrial tissue)
Decidua basalis เกิดใหม่เยื่อบุโปรงมดลูก
บริเวณรกเกอะ ใช้เวลาหาย~6สัปดาห์
ปากมดลูก(Cervix)
ช่องคลอดและพื้นเชิงกราน
(Vagina&Pelvic floor)
ช่องคลอด
Dyspareunia
ช่องเชิงกราน
Kegel’s exercise
ฝีเย็บ (Perinium)
หายใน 2-3 สัปดาห์
อาการเจ็บปวดลดลง 1-2 สัปดาห์
REEDA
น้ำคาวปลา(Lochia)
1-3d rubra
4-9d serosa
10d up alba
Foul lochia กลิ่นเหม็น
ระบบต่อมไร้ท่อ
Es,Pro,HCG,HPL ลดลง
FHS,LH หลั่ง 6-7 wk หลังคลอดปจด.
Prolactin
ระบบหัวใจเเละเลือด
Orthostatic hypotension
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะเองได้ 6-8 ชม.
ระบบทางเดินอาหารและการเผาผลาญ
อุจจาระได้วันที่ 2-3 หลังคลอด
ระวังท้องผูก
Reactionnary fever
Milk fever
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
ความตึงตัวท้องลดลง ออกกำลังสม่ำเสมอ
ระบบผิวหนัง
2-3 วันหลังคลอด กำจัดน้ำออกทางเหงื่อ
Estrogen เพิ่ม > ผมร่วงเป็นหย่อมๆ (Alopecia)
Sriae gravidarum ไม่หาย
Linea nigea,รอยดำที่ขาหนีบ ผ้า รักแร้ ลานนม หาย 6 wk
ความก้าวหน้าของการเปลี่ยนปลง
เต้านม
Estrogen,Progesterone ลดลง
Prolactin ผลิตน้ำนม
Oxitocin หลั่งน้ำนม มดลูกหดรัดตัวดี
Vital signs
24 ชม.แรก Reactionary fever
3-4 วัน Milk fever
Sys < 20 mmHg : Orthostatic hypotension
ประจำเดือน
ไม่ได้เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
7-9 wks
เลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
9 เดือน
การเปลี่ยนแปลงจิตสังคม
3แบบ
1-2d taking in
3-10d taking hold
10d up letting go
Baby blue
การพยาบาล
มารดาหลังคลอดเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ข้อมูลสนับสนุน
S : มารดาคลอดบุตรเร็ว
กิจกรรมการพยาบาล
1.ตรวจวัดสัญญาณชีพแรกคลอด และบันทึกสัญญาณชีพตาม Rountine Post-op จนครบ 2 ชั่วโมงหลังคลอด หลังจากนั้นถ้ามดลูกหดรัดตัวดี เสียเลือดปกติ วัดทุก 4 ชั่วโมงจนครบ 24 ชั่วโมง
2.สังเกตและตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
คลึงหน้าท้องบริเวณยอดมดลูกทุก 15 นาทีในระยะ 2 ชั่วโมงแรก เเละทุก2-4ชั่วโมงใน24ชั่วโมงแรกหลังคลอด
กระเพาะปัสสาวะเต็ม > Void
ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษาของแพทย์
3.สังเกตและบันทึกปริมาณการเสียเลือดเพิ่มภายหลัง
-บันทึกปริมาณที่เสียเลือด
ตรวจดูปริมาณเลือดทุก2-4ชั่วโมงใน24ชั่วโมงแรก
-ปริมาณเลือดออกทางช่องคลอดมากกว่าปกติ
สังเกตแผลฝีเย็บ มี hematoma หรือไม่
4.ประเมินความเสี่ยงเเละสาเหตุส่งเสริม
5.ดูแลการถ่ายปัสสาวะหลังคลอดภายใน6-8ชั่วโมง หลังจากนั้นดูแลให้ถ่ายปัสสาวะทุก3-4ชั่วโมงในระยะ24ชั่วโมงแรก หากไม่สามารถปัสสาวะได้ให้รายงานเเพทย์เพื่อสวนระบายปัสสาวะออก
6.แนะนำให้บุตรดูดนมมารดาทุก2-3ชั่วโมง
เพื่อช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
7.อธิบายให้มารดาหลังคลอดและญาติทราบถึงการสังเกตอาการที่ผิดปกติที่ควรเเจ้งพยาบาล เช่น เวียนศีรษะ ใจสั่น ตัวเย็น เลือดออกมากบริเวณช่องคลอด
8.ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้นได้จากการสูญเสียเลือดมากใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด
9.ถ้าพบว่ามีการตกเลือดให้รีบรายงานเเพทย์และให้การช่วยเหลือทันที
วัตถุประสงค์
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
เกณฑ์การประเมิน
1.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
2.มดลูกหดรัดตัวดี กลมแข็ง
3.มีเลือดออกทางช่องคลอดชุ่มผ้าอนามัยไม่เกิน 500 ml ในระยะ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
4.แผลฝีเย็บไม่มีเลือดออก ไม่มีhematoma
5.ไม่มีอาการใจสั่น ตัวเย็น หน้ามืด กระสับกระส่าย
ประเมินผล
สัญญาณชีพ
มดลูกกลม แข็ง
เลือดออกทางช่องคลอดชุ่มผ้าอนามัย
แผลฝีเย็บเย็บชิดติดกันดี ไม่มีเลือดออก ไม่มีhematoma
ไม่มีอาการใจสั่น หน้ามืด ตัวเย็น
มารดามีภาวะหัวนมสั้น
ข้อมูลสนับสนุน
O: มีหัวนมสั้น 2 ข้าง ลานนมนิ่ม สามารถใช้มือดึงออกมาได้
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยให้ลูกสามารถดูดนมแม่ได้และมารดาหลังคลอดเกิดความมั่นใจในการเลี้ยงลูก
เกณฑ์การประเมิน
ลูกสามารถดูดนมแม่ได้ถูกวิธีและดูดนมแม่ได้นาน 20-30นาที/ครั้ง
กิจกรรมการพยาบาล
1.พูดคุยให้กำลังใจมารดาหลังคลอด สร้างความมั่นใจว่าถึงหัวนมจะสั้นเเต่ก็สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้
2.ช่วยให้ลานนมนุ่ม ยืดหยุ่นได้ดีโดยการบีบน้ำนมออกเล็กน้อย
3.ใช้วิธี Hoffman ‘s maneuver
4.ใช้ Nilpple puller ช่วยดึงหัวนมขึ้นก่อนให้ลูกดูดนม
6.ให้ญาติและสามีเข้ามามีส่วนร่วมในการให้นมบุตร เช่น ประคองหัวเด็กขณะให้นมบุตร
5.สอนมารดาหลังคลอดอุ้มบุตรให้นมในท่าฟุตบอล (Football hold) เพื่อให้ลูกดูดนมได้กระชับขึ้น
การประเมินผล
ทารกดูดนมมารดาได้ถูกวิธี 10 นาที/ครั้ง
ให้คะแนะนำก่อนกลับบ้าน
METHOD
Medication
มารดารับประทานยาตามแพทย์สั่งจนหมด
Environment economic
จัดสิ่งเเวดล้อมภายในบ้านให้เหมาะสมกับภาวะสุขภาพ
รวมถึงสิ่งเเวดล้อมในชุมชน
Treatment
แนะนำมารดาให้สังเกตอาการผิดปกติที่ควรรีบมาพบแพทย์
Health
รักษาความสะอาด แผลฝีเย็บ อวัยวะสืบพันธุ์เพื่อป้องการการติดเชื้อ
ออกกำลังกาย งดทำงานหนักหักโหม 4-8 Wk
พักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 6-8 ชม.
แนะนำให้เลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา เพราะมีสารอาหารสูง
พร้อมเน้นย้ำท่าอุ้มที่ถูกต้อง
งดมีเพศสัมพันธ์ หลังคลอด 6 Wk เพื่อป้องกันการติดเชื้อเเละมดลูกเข้าช้า
Outpatient refal
ให้มารดามาตรวจตามนัดเพื่อตรวจหลังคลอด จะได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ความผิดปกติต่างๆ และคุมกำเนิด
Diet
แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เช่น ไก่ หมู ปลา งดอาหารหมักดอง สิ่งมึนเมา
มารดาเสี่ยงต่อการติดเชื้อในระยะหลังคลอด เนื่องจากมีแผลในโพรงมดลูกและแผลฝีเย็บ
ข้อมูลสนับสนุน
O : มารดามีแผลฝีเย็บแบบ RML
มารดามีแผลในโพรงมดลูก
วัตถุประสงค์
ป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
การพยาบาล
1.ประเมินลักษณะของแผลฝีเย็บเเละน้ำคาวปลา หากพบอาการผิดปกติ ควรรีบรายงานแพทย์เพื่อการรักษา
3.ดูแลและแนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังปัสสาวะอุจจาระ ทำความสะอาดจากหน้าไปหลัง ทำความสะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
4.แนะนำให้เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ำคาวปลาชุ่ม หรือทุก 4 ชั่วโมง
5.แนะนำให้มารดารับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง จะช่วยซ่อมแซมให้แผลหายดีขึ้น
6.ตรวจวัดระดับยอดมดลูกทุกวันในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อประเมินการติดเชื้อในโพรงมดลูก
Vital signs ทุก 4 ชั่วโมง โดยเฉพาะอุณหภูมิร่างกาย
7.ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของเเพทย์เเละสังเกตอาการข้างเคียงที่เกิดจากยา
8.ดูแลความสะอาดแบบ universal precaution ก่อนและหลังทำการพยาบาลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคสู่ผู้คลอด
หากมีอาการผิดปกติ เช่น มีไข้ หนาวสั่น ปวดแผลฝีเย็บ ควรเเจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ
เกณฑ์การประเมิน
Vital sign ปกติ
แผลฝีเย็บไม่มีบวม แดง ช้ำ แผลชิดติดกันดี
ระดับยอดมดลูกลดลงวันละ 0.5 นิ้ว
น้ำคาวปลาสีแดงค่อยๆจางลง
ประเมินผล
Vital signs
T 37.2 องศาเซลเซียล
BP 116/72 mmHg
P 82 ครั้ง/นาที
R 18 ครั้ง/นาที
Pain score 0
แผลฝีเย็บไม่บวม แดง ไม่มีเลือดคั่ง
น้ำคาวปลาสีแดงจางลง
D1 ระดับยอดมดลูก 3.5 นิ้ว
D2 ระดับยอดมดลูก 3 นิ้ว