Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบ ที่สำคัญของพืชสมุนไพร, นางสาวคีตภัทร…
บทที่ 3 ส่วนที่ใช้และองค์ประกอบ
ที่สำคัญของพืชสมุนไพร
สมุนไพรเพื่อความงาม
ความแตกต่าง
เวชสำอาง
เป็นกึ่งยาและเตรื่องสำอาง
มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกาย
เครื่องสำอาง
ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกาย
สมุนไพรกับการใช้ในเวชสำอาง
รักษาสิว
ไพล ชาเขียว สารสกัดเปลือกมังคุด สารสกัดตำรับยาเบญจโลกวิเชียร ว่านหางจรเข้
anti aging
กันแดด
ชา มะขามป้อม ถั่วเหลือง ทับทิม
ชุ่มชื้น
แตงกวา สมอไทย วุ้นว่านหางจรเข้
skin matrix protectant
ใบฝรั่ง ดาวเรือง ชา
free radical scavengers
ขมิ้นชัน ชะเอม มะขามป้อม
ป้องกันมลพิษ
ขมิ้นชัน ข้าว ชาเขียว บัวบก หม่อน องุ่น
whitening
ชะเอม มะหาด ใบหม่อน
เส้นผม
ว่านมหาเมฆ ทองพันชั่ง
อันตรกิริยาระหวางยาสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน
คือ ปฏิกิริยาทางเภสัชวิทยาของสมุนไพรที่มีผลต่อยาแผนปัจจุบันซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงกับกลไกการออกฤทธิ์ของสมุนไพร
ได้แก่
ด้านพลศาสตร์ (Pharmacodynamic interactions)
มีผลเปลี่ยนแปลงฤทธิ์ของยาทั้งทางด้านชีวเคมีและสรีรวิทยา แต่ไม่มีผลต่อระดับความเข้มข้นของยาในร่างกาย
แบ่งเป็น
การออกฤทธิ์เสริมกัน
จะเสริมการออกฤทธิ์ของยาแผนปัจจุบัน
การออกฤทธิ์ต้านกัน
ด้านเภสัชจลศาสตร์ (Pharmacokinetic interactions)
กระบวนการ ได้แก่
การดูดซึมยา
เพิ่มการดูดซึม
ลดการดูดซึม
เกิดสารประกอบที่ซับซ้อน
เพิ่มการเคลื่อนที่ผ่านทางเดินอาหาร
เปลี่ยนแปลงระดับ pH
การกระจายยา
การจับตัวของยา
การกระจายตัวยาจากเลือดผ่านเนื้อเยื่อ
การเปลี่ยนแปลงยา
การขับยาออกจากร่างกาย
คือปฏิกิริยาที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงระดับยาในร่างกายไปจากปกต
สมุนไพรทีใช้รักษาโรคผิวหนัง
กําจัดเหา
น้อยหน่า ยาครีมเมล็ดน้อยหน่า
รักษาแผลสด
มะขาม ขมิ้นชัน ยาครีมบัวบก ยาน้ำเปลือกมังคุด
รักษาแผลไฟไหม้น้ำร้อนลวก
ชาจีน บัวบก น้ำมันมะพร้าว ว่านหางจระเข้
รักษาแผลเรื้อรังจากการฉายรังสี
ว่านหางจระเข้ ยาสารละลายพญายอ(สําหรับป้ายปาก)
รักษาอาการผื่นคัน ลมพิษ
หญ้าคา พลู ยาคาลาไมน์พญายอ
รักษากลาก เกลือน
ขมิ้นชัน กระเทียม ข่า ชุมเห็ดเทศ ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง
รักษาอาการผิวหนังพุพอง น้ำเหลืองเสีย
เหงือกปลาหมอ ขมิ้นชัน
แก้พิษแมลง สัตว์ กัดต่อย
ตำลึง ผักบุ้งทะเล ขมิ้นชัน พญายอ ยาทิงเจอร์พลู
รักษาเริม งูสวัด
ตำลึง พญายอ ยาครีมพญายอ ยาทิงเจอร์พญายอ
สมุนไพรที่ใช้เป็น ยาแก้ไอ ขับเสมหะ
ขิง ดีปลี เพกา มะขามป้อม มะขาม มะนาว มะแว้งเครือ มะแว้งต้น
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ
เถาวัลย์เปรียง สหัสธารา ไพล พริก
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม
ขมิ้นชัน ขิง เบญจกูล ธาตุอบเชยกระชาย ตะไคร้ ข่า พริกไทย โหรพา
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไข้
ฟ้าทะลายโจร บอระเพ็ด
จันทน์ลีลา ขิง หญ้าดอกขาว ลูกใต้ใบ
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ
กระเจี๊ยบแดง ขลู่ ตะไคร้ สับปะรด หญ้าคา หญ้าหนวดแมว อ้อยแดง
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ท้องเสีย
ฟ้าทะลายโจร กล้วยน้ำว้าดิบ ใบฝรั่ง ใบชา เปลือกมังคุด
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาระบายและขับพยาธิ
มะเกลือ ฝักทอง มะหาด มะขาม เล็บมือนาง สะแก
การใช้กัญชาทางการแพทย์
ประโยชน์
ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบำบัด
โรคลมชักที่รักษายากและโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
ภาวะปวดประสาท
ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักตัวน้อย
การเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
ตำรับยาแผนไทยที่มีกัญชา
มี 16 ตำรับ
ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง
ยาไทยสาลี = ช่วยขับลม
ยาทำลายพระสมุทร=บรรเทาอาการปวดเกร็งของกล้ามเนื้อ
ยาศุขไสยาศน์ = ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร
ขนาดยาและการบริหารยา
ผู้ที่เริ่มต้นรักษาและได้รับผลิตภัณฑ์กัญชาเป็นครั้งแรกควรเริ่มต้นที่ขนาดต่ำมากๆ หากเกิดผลข้างเคียงให้ปรับขนาดหรือหยุดใช้
ไม่มีขนาดยาเริ่มต้นที่แน่นอน
เภสัชพฤกษศาสตร์ของกัญชา
เป็นพืชในวงศ์ Cannabidaceae
ที่พบบ่อย
Cannabisindica
Cannabis rudealis
Cannabis sativa พบในไทยมาก ใช้ทำยา
ประวัติศาสตร์การใช้กัญชา
ในไทย
มีบันทึกตั้งแต่สมัยอยุธยาว่ามีการใช้กัญชาในตำรับยา
กัญชาคือ พืชออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทชนิดแรกที่มนุษย์ร์ูจ้ก
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี
สีเขียว
ใบเตยหอม
สีแดง
กระเจี๊ยบแดง ฝาง ข้าวแดง ถั่วแดง หัวบีทรูท ครั่ง
สีน้ำตาล
โกโก้
สีเหลือง
ดอกกรรณิกา ขมิ้น ดอกคำผวย คำแสด ลูกตาล ฟักทอง มันเทศ พุก หญ้าฝรั่น
สีส้ม
ส้มเขียวหวาน แครอท
สีม่วง
ข้าวเหนียวดำ ฝักปลัง ดอกอัญชัน
สีดำ
กาบมะพร้าว ถั่วดำ
สมุนไพรที่ใช้เป็ยาฆ่าแมลง ไล่แมลง
ไล่ยุง
กะเพรา ขมิ้น ตะไคร้หอม มะกรูด ไพรีทรัม
ไล่มอด
หน่อไม้ พริกป่น ขมิ้น พริกสดและผิวมะกรูด
ไล่มด
หน่อไม้ดอง พริกป่น ขมิ้น พริกสดและผิวมะกรูด
ไล่ปลวก
ข่า ตะไคร้ กระเทียม ใบขี้เหล็ก
ไล่แมงมุม
ส้ม เปปเปอร์มิ้นต์ เกาลัด
ไล่แมลงสาบ
ใบกระวานแห้ง กานพลู พริกไทย
ไล่แมลงวัน
เปลือกส้ม กระเทียม ผักกลิ่นฉุน ตะไคร้หอม
ไล่แมลงหวี่
กาบมะพร้าวกับเครือกระทกรก ใบหางนกยูง ดอกดาวเรือง ตะไคร้
ไล่จิ้งจก
ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า
พืชที่มีพิษ
แบ่งตามผลต่อระบบร่างกาย
ระบบทางเดินอาหาร
ระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอ
กระดาด บุก บอนสี บอนเผือก พลูฉีก สาวน้อยประแป้ง
ระคายเคืองต่อเยื่อบุผนังกระเพาะอาหาร
พืชในสกุลพลับพลึง
ระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้
มะเนียงน้ำ เทียนหยด มันแกว หางไหลแดง ก้ามปู มะคำดีควาย
ทำให้กระเพาะและลำไส้อักเสบอย่างช้า ๆ
กลุ่มที่มีสารเลคติน เช่น มะกล่ำตาหนู ละหุ่ง สบู่ดำ
กลุ่มที่มีสารสเตียรอยด์แอคคาลอยด์ เช่น โทงเทง และมะแว้งนก
กลุ่มที่มีสารออกซาเลท เช่น ใบและก้านใบโกฐน้ำเต้า ใบผักกาดส้ม เถาคันแดง
กลุ่มที่มีสารโคลชิซีน เช่น ดองดึงหัวขวาน
มีพิษต่อระบบหลอดเลือดและหัวใจ
สารกลุ่มคาร์ดิแอคกลัยโคไซด์ เช่น ยี่โถ รำเพย บานบุรีสีเหลือง ชวนชม
มีสารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์
เช่น มันสำปะหลัง
มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
กดประสาทส่วนกลาง พบได้ในพืชวงศ์ Solanaceae
มีฤทธิ์ทำให้ชัก เช่น ผลเลี่ยน เมล็ดแสลงใจ (โกศกะกลิ้ง) หัวกลอย
ที่มีฤทธิ์ทำให้ประสาทหลอน เช่น กัญชา จันทน์เทศ ลำโพง กลอย
ระคายเคืองต่อผิวหนัง
พืชที่มีหนามหรือขนและมีสารพิษ
เช่น หมามุ่ย กะลังตังช้าง ตำแยตัวเมีย ตำแยช้าง
พืชที่มียาง
ยางใส
เช่น สบู่ดำ สบู่แดง ฝิ่นต้น หนุมานนั่ง บอน เผือก สาวน้อยประแป้ง กระดาด กระดาดแดง กระดาดดำ พลูฉีก
ยางขาว
เช่น สลัดได ส้มเช้า โป้ยเซียน พญาไร้ใบ
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ลูกเนียง
นางสาวคีตภัทร บุญขำ
เลขที่ 9 รหัส 62111301010