Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการหายใจลําบาก หอบเหนื่อย (Dyspnea) และ กลุ่มอาการใจสั่น…
กลุ่มอาการหายใจลําบาก หอบเหนื่อย (Dyspnea) และ กลุ่มอาการใจสั่น (Palpitation)
กลุ่มอาการหายใจลําบาก หอบเหนื่อย (Dyspnea)
COPD
ตรวจร่างกาย
หอบ หายใจลําบากจนต้องห่อปากเวลาหายใจออก
ใช้ Accessory muscle ในการหายใจ
ลักษณะทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็นbarrel shape
เคาะปอดเสียง hyperresonance
ฟังเสียงปอดได้เสียง wheezing
การรักษา
แนะนําหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ
ดื่มน้ําอุ่นมากๆ
มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทาน
ตามคําสั่งการรักษาของแพทย์
ในรายที่เป็นรุนแรงจําเป็นต้องใช้ยา corticosteroid พ่นคล้าย
ผู้ป่วยหอบหืด
ส่งต่อทันทีถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้น
ใน 4-6 ชั่วโมง
ซักประวัติ
หอบเหนื่อยง่ายเวลาออกแรงใน ระยะรุนแรงหอบเหนื่อยจนทํางาน
ไม่ได้มีอาการหอบ อาการหอบกำเริบเป็นระยะๆ
ไอเรื้อรังมีเสมหะสีขาว
ประวัติสูบบุหรี่
Congestive
Heart failure
ซักประวัติ
เหนื่อยหอบนอนราบ
ไม่ได้
หอบเหนื่อยเป็นช่วงๆโดยเฉพาะกลางคืน
มีไอเป็นพักๆ
มีประวัติ HT /โรคหัวใจ/เบาหวาน
ตรวจร่างกาย
นอนราบไม่ได้
พบneck vein engorgement
พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
บางรายพบ ascites
ชีพจรเบาเร็วไม่ สม่ําเสมอ
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
การรักษา
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้น้ําเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
ให้ยาขับปัสสาวะ/ACEI (ตาม
standing order หรือยาของผู้ป่วย)
ส่งต่อทันที
Asthma /Status asmaticus
การซักประวัติ
หายใจลําบาก
หอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาว
อาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
ตรวจร่างกาย
ช่วงที่มีอาการหอบจะฟังปอดได้ยินเสียง wheezing หรือ
Rhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
การรักษา
แนะนําหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการ
ปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamol
ผ่าน nebulizer ต่อกับ O2 หรือพ่น
ยาขยายหลอดลม DPI /MDI
ส่งต่อทันทีถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลัง
พ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
Acute pulmonary edema
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation ชายปอด
ด้านล่าง
อาจพบ cyanosis
การรักษา
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ส่งต่อทันที
ซักประวัติ
เหนื่อยหอบ นอนราบ ไม่ได้
ไอมีเสมหะปนเลือด
Pneumonitis
ตรวจร่างกาย
อาจมี cyanosis
พบ pleural friction rub
อาการหอบเหนื่อย
ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation/ Decreased breath
sound
การรักษา
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ส่งต่อทันที
ซักประวัติ
ปวดแบบ sharp pain เป็นมากเมื่อหายใจเข้า-ออก
ประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจ
หอบเหนื่อย
Hyper- ventilation
ตรวจร่างกาย
หายใจหอบลึก
มือจีบเกร็งทั้งสองข้าง
การรักษา
หายใจในกรวยกระดาษหรือถุงพลาสติก
แนะนําให้หายใจเข้าออกช้า ๆ
ไม่ควรให้ออกซิเจน
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 30 นาที
ซักประวัติ
หายใจหอบลึก
มีอาการหลังภาวะเครียด/มีเรื่องขัดใจ
กลุ่มอาการใจสั่น (Palpitation)
กล้ามเนื้อหัวใจตายลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดสมอง/ปอด
ตรวจร่างกาย
ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอด
การรักษา
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
และ ส่งต่อทันที
ซักประวัติ
เจ็บหน้าอกรุนแรง
หอบเหนื่อย
อาการใจสั่น
แขนขาข้างหนึ่งอ่อนแรงฉับพลัน
เป็นลมหมดสติ
Shock
ตรวจร่างกาย
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีเต้นสม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
การรักษา
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
และ ส่งต่อทันที
ซักประวัติ
ปวดท้องรุนแรง
อาเจียนรุนแรง
ตกเลือดรุนแรง
ท้องเดินรุนแรง
อาการใจสั่น
เป็นลมหน้ามืดเวลาลุกนั่งหรือยืน
โรคลิ้นหัวใจพิการ/โรคหัวใจรูมาติก
ตรวจร่างกาย
ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอด
ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง murmur
การรักษา
พิจารณาให้ยาตามความจําเป็น
ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง
ซักประวัติ
อาการใจสั่น มีอาการเรื้อรัง
Congestive Heart failure
ซักประวัติ
หายใจหอบเหนื่อย
ข้อเท้าบวม หน้าแข้งกดบุ๋ม
อาการใจสั่น
ภาวะซีด
การรักษา
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
และ ส่งต่อทันที
ตรวจร่างกาย
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีเต้นสม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
พบneck vein engorgement
พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
Hyperthyroidism
ตรวจร่างกาย
ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอดมากกว่า 120 ครั้งต่อนาที
มือสั่น ตาโปน ขี้ร้อน เหงื่อมาก คอพอก
การรักษา
พิจารณาให้ยาตามความจําเป็น
ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง
กรณีมีชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีเต้นสม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอดส่งต่อภายใน 3 วัน
ซักประวัติ
อาการใจสั่น
น้ําหนักลดฮวบ
ฤทธิ์ข้างเคียงของสารกระตุ้น
ตรวจร่างกาย
ชีพจรมากกว่า100 ครั้ง/นาที เต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
การรักษา
หยุดยาหรือสารกระตุ้น
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 6 ชั่วโมง
ให้ดื่มน้ํามากๆ
ซักประวัติ
อาการใจสั่น หลังการสูบบุหรี่ ดื่มเหล้า กาแฟ
กินยาแก้หอบ แก้หวัด
วิตกกังวล
ตรวจร่างกาย
ชีพจรมากกว่า100 ครั้ง/นาที เต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
การรักษา
แนะนําของออกกําลังกาย
การผ่อนคลายความเครียด
ให้ยาคลายกังวล เช่น Hydroxyzine (25mg.) 2 tab oral tid. pc +hs
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 1 สัปดาห์
ซํกประวัติ
อาการใจสั่น
มีเรื่องวิตกกังวลคิดมากหรือนอนไม่หลับร่วมด้วย
ออกกําลังกาย
หักโหม
ตรวจร่างกาย
ชีพจรมากกว่า100 ครั้ง/นาที เต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
การรักษา
ให้นั่งพัก
แนะนําการออกกําลังกายที่ถูกวิธี
ซักประวัติ
อาการใจสั่นหลังการออกกําลังกาย