Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก
เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอก2-3 นาทีและมักไม่เกิน15 นาที มีอาการเมื่อออกแรงอย่างหนัก / มีอารมณ์เครียดหรืออากาศเย็น อาการดีขึ้นเมื่อพัก ประวัติ HT, DM,DLP
ตรวจพบ : อาการเจ็บหน้าอกแบบ angina pectoris มีอาการ referred pain ไปกราม แต่ไม่เกิน temporo-mandibular joint ไหล่ คอและแขนและไม่ต่ำกว่าสะดือ
Angina pectoris
การรักษา
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs และ
• ให้พักผ่อน(Rest)
• ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM
• ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mg ทันทีโดย
เคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน 1 เม็ด
• ให้น้ําเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
• ให้อมยา nitroglycerine 5 mg. ใต้ลิ้น
• ส่งต่อทันที
เจ็บแน่นๆอึดอัด กลางหน้าอก ทันทีทันใด เกิดขณะนอนพักหรือหรืออกแรงแต่ส่วนมากเจ็บหน้าอก ขณะพักนาน 20 - 30 นาที มีเหงื่อออกหรือคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วยได้
ตรวจพบ : • อาการเจ็บหน้าอกเหมือน angina pectoris แต่รุนแรงกว่า มีreferred pain
• พบ arrythmia
• ฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง`murmur
• ตรวจคลื่นไฟฟ้า หัวใจอาจพบ Non-ST-Elevation MI หรือพบ Q-wave ST elevation MI
Acute Coronary Syndrome
การรักษา • ประเมินความรู้สึกตัว ABCs และ
• ให้พักผ่อน(Rest)
• ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mg ทันทีโดย
เคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน 1 เม็ด
• ให้น้ําเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
• ให้อมยา nitroglycerine 5 mg. ใต้ลิ้น
• ส่งต่อทันที
เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain ทันทีทันใด และรุนแรงตั้งแต่เริ่มแรกเหมือนมีการฉีกขาดบริเวณกลาหน้าอกและปวดทะลุไปกลางหลัง ส่วนใหญ่มีประวัติ HT
• พบชีพจรที่คอ ขา-แขนอาจไม่เท่ากัน
• ความดันโลหิตสองข้างไม่เท่ากันหรือ
แตกต่างกันมากกว่า 10 มิลลิเมตรปรอท
Acute aortic
dissection
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
• ให้ absolute bed rest
เพื่อลดการฉีกขาดเพิ่มขึ้น
• ให้ Morphine 3 – 5 mg IV dilute
ทุก10 – 15 นาทีตามคําสั่งแพทย์
• ส่งต่อทันที
• อาการเจ็บแน่นหน้าอกตลอดเวลา
• ประวัติอุบัติเหตุ การบาดเจ็บของทรวงอก
• โรคที่ทําให้เกิดน้ําใน
ช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
• อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย
• กระสับกระส่ายระดับความรู้สึกตัวลดลง
• ปัสสาวะลดลง
• neck vein engorgement
• หัวใจเต้นเร็ว เสียง
หัวใจเบาลง พบ pulsus paradoxus
Cardiac tamponade
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
• ประเมินสัญญาณชีพ
• ให้พักผ่อน(Rest)
• ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask C bag ตาม O2 Saturation
• ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ําตามความเหมาะสม เพื่อ
hemodynamic support
• เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain
มีการปวดร้าวไปหลัง sternum
• กระจายไปคอ หลังไหล่ซ้าย เจ็บมาก
ขึ้นมาไอหายใจเข้าลึกกลืนอาหารหรือนอนหงาย
• เจ็บน้อยลงมานั่งหรือ ก้มตัวไปข้างหน้า
• ตรวจพบ pericardial
friction rub
• คลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ
diffuse ST segment
elevation, depressed PR
segment
Pericarditis
• ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
• ประเมินสัญญาณชีพ
• ให้พักผ่อน(Rest)
• ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask C bag ตาม O2 Saturation
• ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ําตามความเหมาะสม เพื่อhemodynamic support
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจาก
โรคระบบประสาท กล้ามเนื้อและข้อต่อ
• อาการเจ็บแปลบๆ
เวลาหายใจเข้าลึกๆ หรือขยับตัว
• มีประวัติไข้แล้วไอมากหรือการ
เคลื่อนไหวร่างกาย อย่างแรงๆ
• พบจุดกดเจ็บชัดเจน
• เจ็บมากขึ้นเมื่อขยับทรวงอกกรณี
กล้ามเนื้ออักเสบ มักมีไข้ร่วมด้วย
Costochondritis
/ Myositis
•ประคบน้ําอุ่นหรือยานวด methyl
salicylate หรือครีมไพลจีซาลทานวดวันละ 2- 3 ครั้ง
•ให้ยาแก้ปวด Ibuprofen 200 - 400 mg. ทุก 4 - 6 ชั่วโมง PC (ไม่เกิน1.2 กรัม/วัน)
•ติดตามอาการ 3 วัน ส่งต่อหากอาการ
ไม่ดีขึ้นหรือสงสัยอาจมีซี่โครงหัก
• เจ็บหน้าอกแบบ
ปวดแสบปวดร้อนซีกใดซีกหนึ่งตาม
แนวเส้นประสาท(dermatome)
• พบผื่นแบบ
(maculopapular) ซึ่งจะกลายเป็นตุ่มน้ํา
(vesicles) ภายใน 1-2 วันหรือแผลไปตามแนว dermatome
Herpes zoster
• ถ้าปวด มีไข้ให้paracetamol
• หากเป็นผื่นทาด้วย calamine lotion หรือน้ําจากการบดต้น
เสลดพังพอนทาวันละ 2-3 ครั้ง
• ควรส่งต่อใน 1 สัปดาห์ ถ้ามีการลุกลามขึ้นที่บริเวณตาหู/ ปวด รุนแรง / กระจายทั่วตัว /ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
ประวัติได้รับ
บาดเจ็บ/อุบัติเหตุ
• พบจุดกดเจ็บชัดเจน
เจ็บมากขณะหายใจเข้า-ออก
Fracture rib
•ประคบน้ําอุ่นหรือยานวด methyl
salicylate หรือครีมไพลจีซาลทานวดวันละ 2- 3 ครั้ง
•ให้ยาแก้ปวด Ibuprofen 200 - 400 mg. ทุก 4 - 6 ชั่วโมง
PC (ไม่เกิน1.2 กรัม/วัน)
•ติดตามอาการ 3 วัน ส่งต่อหากอาการ
ไม่ดีขึ้นหรือสงสัยอาจมีซี่โครงหัก
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอกสาเหตุ
จากระบบทางเดินหายใจ
• อาการเจ็บปวด
แปลบๆเป็นมากเมื่อหายใจเข้าออกลึกๆ
•มีปัจจัยเสี่ยงต่อ deepvein thrombosis
(ผู้ป่วยติดเตียง /เคยผ่าตัดเกี่ยวกับสะโพก
/มีการบาดเจ็บบริเวณขา /ตั้งครรภ์หรือหลัง
คลอด หรือมีเลือดแข็งตัวผิดปกติ)
• อาการหอบเหนื่อย
• ตรวจพบ pleuritic chest pain
• มีอาการหัวใจเต้นเร็ว• มีอาการ cyanosis
• พบภาวะออกซิเจนในเลือดต่ํา
• อาจพบ neck vein engorgement
pulmonary
embolism
•ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
•ประเมินสัญญาณชีพ•เคี้ยวและกลืน aspirin 325mg ทันทีโดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน1 เม็ด (ไม่มี bleeding precaution)
•ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
•ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ํา
• มีอาการเจ็บหน้าอก
รุนแรงทันทีทันใด
• หอบ หายใจลําบาก
• ประวัติอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บ
ของทรวงอก
• อาการหอบเหนื่อย
• ปอดด้านที่มีพยาธิสภาพขยายตัวลดลง
• เสียงหายใจลดลง• มีtrachea เอียง
• พบ neck vein engorgement
• พบอาการ cyanosis• ออกซิเจนในเลือดต่ำ
• หัวใจเต้นเร็ว
• Pneumo-thorax
• TensionPneumothorax
•ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
•ประเมินสัญญาณชีพ•ให้ออกซิเจน
cannula 3.5 LPM /Mask c bag
ตามค่า O2 Saturation•ให้ IV fluid
เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ํา
เพื่อ hemodynamic support
กลุ่มอาการหายใจลำบาก
• หอบเหนื่อยง่าย
เวลาออกแรง ในระยะรุนแรงหอบ
เหนื่อยจนทํางานไม่ได้มีอาการหอบ
กําเริบเป็นๆหายๆ
• ไอเรื้อรังมีเสมหะสีขาว
• ประวัติสูบบุหรี่
• พบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ
• หอบ หายใจลําบาก
จนต้องห่อปากเวลาหายใจออก ใช้
Accessory muscle ในการหายใจ
• ลักษณะทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็น barrel shape
• เคาะปอดเสียง hyper-resonance
• ฟังเสียงปอดได้เสียง wheezing
• ในรายที่เป็นรุนแรงอาจไม่ได้ยินเสียงเลย
COPD
• แนะนําหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ
• ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
• มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทานตามคําสั่งการรักษาของแพทย์
• ในรายที่เป็นรุนแรงจําเป็นต้องใช้ยาก
corticosteroid สุดพ่นคล้ายผู้ป่วยหอบหืด
• ส่งต่อทันทีถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้นใน 4-6 ชั่วโมง
• มีไข้เสมหะมีหนองให้ยาปฏิชีวนะ
•เหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้
•หอบเหนื่อยเป็นช่วงๆโดยเฉพาะกลางคืน
•มีไอเป็นพักๆ
•มีประวัติ HT /โรคหัวใจ/เบาหวาน
• นอนราบไม่ได้
• พบneck vein engorgement
• พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
• บางรายพบ ascites
• ชีพจรเบาเร็วไม่สม่ำเสมอ
Congestive
Heart failure
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)
•ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
• ให้น้ําเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
• ให้ยาขับปัสสาวะ/ACEI (ตามstanding order หรือยาของผู้ป่วย)
• ส่งต่อทันที
• หายใจลําบาก
หอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาว
อาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยาย
หลอดลม
• ตรวจร่างกายตอนไม่มี
อาการหอบจะไม่พบความผิดปกติ
• ช่วงที่มีอาการหอบจะ
ฟังปอดได้ยินเสียงwheezing หรือ
Rhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
Asthma /
Status asmaticus
• แนะนําหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
• ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
• ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamol ผ่าน nebulizer ต่อกับ O2 หรือพ่น
ยาขยายหลอดลม DPI /MDI
• ส่งต่อทันทีถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลัง
พ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
• เหนื่อยหอบ นอนราบ ไม่ได้
• ไอมีเสมหะปนเลือด
• ฟังปอดได้ยินเสียง fine
crepitation ชายปอดด้านล่าง
• อาจพบ cyanosis
Acute
pulmonary edema
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)
•ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
• ส่งต่อทันที
• อาการหอบเหนื่อย
• ปวดแบบ sharp pain
เป็นมากเมื่อหายใจเข้า-ออก
• ประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจ
• อาการหอบเหนื่อย
• อาจมี cyanosis
• พบ pleural friction rub
• ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation
/Decreased breath sound
• ไข้ ไอมีเสมหะ
Pneumonitis
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)
• ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
• ส่งต่อทันที
• หายใจหอบลึก
•มีอาการหลังภาวะเครียด/
มีเรื่องขัดใจ
• หายใจหอบลึก
• มือจีบเกร็งทั้งสองข้าง
Hyperventilation
• หายใจในกรวยกระดาษหรือถุงพลาสติก
• แนะนําให้หายใจเข้าออกช้า ๆ
• ไม่ควรให้ออกซิเจน
• ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 30 นาที
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากระบบทางเดินอาหาร
• เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอก
ทันทีทันใดสัมพันธ์กับการกลืนอาหาร
• มีประวัติกลืนอาหารลําบาก
รู้สึกเหมือนมีสิ่งติดอยู่ใน
ทรวงอกด้านล่าง เป็นๆหายๆ
Esophageal spasm
• ส่งต่อแพทย์
• เจ็บปวดแบบแสบร้อนเหมือนโดนไฟลวกในอกทั่วๆไป
อาการเป็นๆหายๆ
• มีอาการเปรี้ยวในคอ เจ็บคอ แสบลิ้นหรือไอเรื้อรัง
อาหารไม่ย่อย ท้องอืด อาจมีประวัติสําลักอาหาร
• เกิดอาการหลังรับประทานอาหารหรือตอนนอนราบ
• พฤติกรรม สูบบุหรี่ รับประทานอาหารเผ็ด อาหารมัน ดื่มชา กาแฟ /อ้วน/ตั้งครรภ์
• ปวดแสบร้อน(heart
burn) บริเวณepigastrium
30-60 นาทีหลังอาหาร/
หลังกินอาหารแล้ว
ล้มตัวนอน
Gastroeso-
phageal reflux disease /Reflux esophagitis
•ให้ Aluminum hydroxide 15 ml.
qid. pc หลังอาหาร 1 ชั่วโมง
•Ranitidine 150 mg.ทุก 12 ชั่วโมง
• หากท้องอืดให้Simethicone1-2 tab qid. pc และhs. (ไม่
เกิน 500 mg./day)หรือให้M. carminative 1-2 ช้อนโต๊ะ
tid. /qid. pc หลังอาหาร
• ให้ยา 1 สัปดาห์นัดติดตามอาการ
หากดีขึ้นให้ยารับประทานต่อ 2 เดือน
กลุ่มอาการใจสั่น
• อาการใจสั่น
• ตกเลือดรุนแรง
• ปวดท้องรุนแรง
• อาเจียนรุนแรง
• ท้องเดินรุนแรง
• ถ่ายดํา
• เป็นลมหน้ามืด
เวลาลุกนั่งหรือยืน
• ชีพจรมากกว่า 100
ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอ
ได้แรงเท่ากันตลอด
Shock
• ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
• ส่งต่อทันที
• อาการใจสั่น
• หายใจหอบเหนื่อย
• ข้อเท้าบวม หน้าแข้งกดบุ๋ม
• ภาวะซีด
• ชีพจรมากกว่า 100ครั้งต่อนาที
เต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
• พบneck vein engorgement
• พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
• ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
Congestive
Heartfailure
• ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
• ส่งต่อทันที
• อาการใจสั่น
• น้ําหนักลดฮวบ
• ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอ
และแรงไม่เท่ากันตลอด
มากกว่า 120 ครั้งต่อนาที
• มือสั่น ตาโปน ขี้ร้อน
เหงื่อมาก คอพอก
Hyperthyroidism
• พิจารณาให้ยาตามความจําเป็น
• ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง
• กรณี Hyperthyroidism
มีชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
เต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
ส่งต่อภายใน 3 วัน
• อาการใจสั่นเรื้อรัง
• ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอ
และแรงไม่เท่ากันตลอด
• ฟังเสียงหัวใจได้ยิน
เสียง murmur
โรคลิ้นหัวใจพิการ/
โรคหัวใจรูมาติก
• พิจารณาให้ยาตามความจําเป็น
• ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง
• กรณี Hyperthyroidism
มีชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีเต้นสม่ำเสมอ
ได้แรงเท่ากันตลอดส่งต่อภายใน 3 วัน
นางสาวรัชนีกร อิ่นแก้ว 60170047