Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.2.1ความผิดปกติของระบบไร้ท่อ-6.2.2ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง - Coggle…
6.2.1ความผิดปกติของระบบไร้ท่อ-6.2.2ความผิดปกติของต่อมใต้สมอง
หน้าที่หลักของฮอร์โมน
ควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการของร่างกาย Growth hormone sex hormone
ควบคุมสมดุลภายในร่างกาย พลังงานและแมแทบอลิซึม เช่น อินซูลิน กลูคากอน โกรทฮอร์โมน กลูโคคอติคอยด์ เอพิเนฟฟริน ไทรอยด์ฮอร์โมน ควบคุมแคลเซียมและฟอสเฟสในเลือดและกระดูก พาราไทรอยด์ แคลซิโทนิน วิตามินดี ควบคุมน้ำเข้าออก vasopressin Antidiured เรนิน แองจิโอเทนซิน อัลโดสเตอโรน ควบคุมการทำงานของระบบสืืบพันธุ์
ชนิดฮอร์โมน
steroid hormone
protein hormone เปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ไม่คงที่ เช่น อินซูลิน
Amine
การควบคุมการหลั่ง
เมื่อร่างกายมีฮอร์โมนมากกว่าปกติร่างกายจะลดการสร้างหรือหลั่งฮอร์โมนนั้น เรียกว่าการยับยั้งแบบย้อนกลับ Negative feedback
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
Hypersecretion
Hyposecretion
Receptor defect
ต่อมใต้สมอง Pituitary gland
Anterior pituitary gland
Growth hormone ACTH TSH FSH LH Prolactin
Posterior pituitary
ADH / Vasopressin Oxytocin
ความผิดปกติ
ส่วนหน้า
Hyperpituitarism
Gigantism ร่างยักษ์ เกิดขึ้นในวัยเด็ก เริ่มเกิดตั้งแต่ Epiphysis ของกระดูกยาวยังไม่ปิด ทำให้เนื้อเยื่อทั่วร่างกายรวมทั้งกระดูกเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายอ่อนเพลีย ตรวจวัดค่าโกรทฮอร์โมน ด้วยวิธี Suppression แนะนำงดกินข้าวก่อนตรวจ 10-12 ชั่วโมงก่อนรับการตรวจ
Acromegaly โกรทฮอร์โมนมากในวัยผู้ใหญ่ ร่างกายเติบโตโดยความสูงไม่เพิ่มขึ้น กรามโต ลิ้นหนา จมูกโต ทำให้พูดลำบาก หญิงมีขนที่หน้า มีภาวะขาดประจำเดือน
Hypopituitarism
ต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่งฮอร์โมนน้อยกว่าปกติ อาจเกิดจากผลของการฉายรังสีบริเวณศีรษะและลำคอ อาการได้แก่ น้ำหนักลดลงอย่างมาก ซูบผอม ผมร่วง อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ไม่มีประจำเดือน โกรทฮอร์โมนหลั่งน้อยก็จะเตี้ยแคระ เรียกว่า Dwarfism
การรักษา
การรักษาด้วยยา Dopamine antagonist บรอมโมคริบตีน ยาไปกระตุ้นRecepter ยับยั้งการหลั่งโกรธฮอร์โมน ลดระดับ และลดขนาดเนื้องอก อาการค้างเคียง คลื่นไส้ ปวดหัว ความดันต่ำในท่ายืน
การรักษาด้วยการฉายแสง มักใช้ในรายปฎิเสธการผ่าตัด หรือใช้เสริมหลังการผ่าตัดเอาก้อนเนื้อออกไม่หมด เกิดภาวะ Cranial nerve palsy Optic neuritis
การรักษาด้วยการผ่าตัด
ส่วนหลัง
กลุ่มอาการของการหลั่งฮอร์โมนแอนติไดยูเรติกไม่เหมาะสม SIADH
เป็นภาวะที่ร่างกายหลั่ง ADH มากผิดปกติ ซึ่งไม่ได้เกิดจากตัวกระตุ้น
ภาวะHyponatremia ค่าปกติของโซเดียม 135-145 mEq/L
Diabetes insipidus:DI เบาจืด