Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น
เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอก 2-3นาทีเป็นไม่เกิน 15 นาที
มีอาการเมื่อออกแรงหนักๆ หรือเครียด/อากาศเย็น
ดีขึ้นเมื่อพัก มีประวัติ HT DM DLP
ตรวจร่างกายพบ เจ็บหน้าอกแบบ Angina pectoris , มีอาการ referred pain ไปกราม แต่ไม่เกิน temporomandibular joint ไหล่แขนไม่ต่ำกว่าสะดือ
Angina pectoris
ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mgทันทีโดยเคี้ยวและกลืน 1 เม็ดและกลืน 1เม็ด
ให้น้ำเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM
ให้อม nitroglycerine 5 mg ใต้ลิ้น
พักผ่อน
ถ้า shock ให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
refer ทันที
เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอกทันทีทันใดเกิดขณะนอนพักหรืออกแรงเจ็บนานขณะพัก20-30 นาที เหงื่อออกคลื่นไส้อาเจียนร่วมด้วย
เจ็บเหมือนAngina pectoris แต่รุนแรงกว่ามี referred painพบ arrytmia เสียงหัวใจ murmur พบ non -st-elevation MI หรือ Q-wave st elevation MI
ACUTE CORONARY SYNDROME
เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain ทันทีทันใดและรุนแรงตั้งแต่เริ่มแรกเหือนมีการฉีดขาดบริเวณกลางหน้าอกปวดทะลุไป กลางหลัง มีประวัติ HT
พบชีพจรที่คอ ขา แขนไม่เท่ากัน ฺBP 2ข้างไม่เท่ากัน แตกต่างมากกว่า 10 mmHg BP ตกหรือShock พบตัวซีดเขียวเย็นของแขนขา รายที่ แตก Carotid artery จะคลำชีพจรได้เบาและมีเสียงฟู่
Acute aortic dissection
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ absolute bed rest เพื่อลดการฉีกขาดเพิ่มขึ้น
ให้ Morphine 3-5 mg iv dilute ทุก 10-15 นาทีตามคำสั่งแพทย์
refer ทันที
เจ็บแน่นหน้าอกตลอดเวลา ประวัติอุบัติเหตู บาดเจ็บทรวงอก โรคทีทำให้น้ำในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เช่น หัวใจล้มเหลว
อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ความรู้สึกตัวลดลง ปัสสาวะลดลง Neck vein engorgement หัวใจเต้นเร็ว เสียงหัวใจเบาลง พบ Pulsus paradoxus BP ตก
Cardiac tamponade
เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain มีการปวดร้าวไปที่หลัง sternum กระจายไปที่คอ หลัง ไหล่ซ้าย เจ็บมากขึ้นเมื่อไอหายใจเข้าลึก กลืนอาหารหรือนอนหงาย เจ็บน้อยลงเมื่อนั่งหรือก้มตัวไปข้างหน้า
ตรวจพบ Pericardial friction rub คลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ diffuse ST segment elevation depressed PR segment
Pericarditis
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM
ให้ IV fluid
ให้พักผ่อน
refer ทันที
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
อาการเจ็บปวดแปลบๆเป็นมากเมื่อหายใจเข้าออกลึกๆมีปัจจัยเสี่ยงต่อ deep vein thrombosis(ผู้ป่วยติดเตียง /เคย
ผ่าตัดเกี่ยวกับสะโพก/มีการบาดเจ็บบริเวณขา /ตั้งครรภ์หรือหลังคลอด หรือมีเลือดแข็งตัวผิดปกติ)
อาการหอบเหนื่อยตรวจพบ pleuritic chest painมีอาการหัวใจเต้นเร็วมีอาการ cyanosisพบภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
อาจพบ neck veinengorgement
Pulmonary embolism
ㆍประเมินความรู้สึกตัว ABCS
ประเมินสัญญาณชีพ
ㆍเคี้ยวและกลืน aspirin 325mg ทันที
โดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน
1 เม็ด ไม่มี bleeding precaution)
ㆍให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ㆍให้ V fuid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำ
เพื่อ hemodynamic support
ㆍส่งต่อทันที
มีอาการเจ็บหน้าอก รุนแรงทันทีทันใด หอบ หายใจลำบากประวัติอุบัติเหตุหรือการบาดเจ็บของทรวงอก
อาการหอบเหนื่อยปอดด้านที่มีพยาธิสภาพขยายตัวลดลงเสียงหายใจลดลงมี trachea เอียง พบ neck vein
Engorgement พบอาการ cyanosisออกซิเจนในเลือดต่ำหัวใจเต้นเร็วความดันโลหิตตก
Pneumo-thorax TensionPneumo-thoraxภาวะฉุกเฉิน
ประเมินความรู้สึกตัว ABCS
ประเมินสัญญาณชีพ
ㆍให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ㆍให้ V fuid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำ
เพื่อ hemodynamic support
ㆍส่งต่อทันที
ปวดแบบ sharp pain เป็นมากเมื่อหายใจเข้า-ออกประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจ
อาการหอบเหนื่อยพบ pleural frictionฟังปอดได้ยินเสียงcrepitationไข้ ไอมีเสมหะ
Pneumonitis
เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอกทันทีทันใดสัมพันธ์กับการกลืนอาหารมีประวัติกลืนอาหารลำบาก รู้สึกเหมือน
มีสิ่งติดอยู่ในทรวงอกด้านล่างเป็นๆหายๆ
Esophageal
spasm
Refer
อาการเจ็บแปลบๆเวลาหายใจเข้าลึกๆหรือขยับตัวมีประวัติไข้แล้วไอมากหรือการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างแรงๆ
พบจุดกดเจ็บชัดเจนเจ็บมากขึ้นเมื่อขยับทรวงอกกรณีกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีไข้ร่วมด้วย
Costochondritis
/ Myositis
ㆍประคบน้ำอุ่นหรือยานวด methyl
salicylate หรือครีมไพลจีซาลทานวด
วันละ 2- 3 ครั้ง
ㆍให้ยาแก้ปวด Ibuprofen 200 - 400
mg. O ทุก 4 - 6 ชั่วโมง PC (ไม่เกิน
1.2 กรัม/วัน)
ติดตามอาการ 3 วัน ส่งต่อหากอาการ
ไม่ดีขึ้นหรือสงสัยอาจมีโครงหัก
ประวัติได้รับ
บาดเจ็บ/อุบัติเหตุ
พบจุดกดเจ็บชัดเจนเจ็บมากขณะหายใจเข้า-ออก
Fracture rib
เจ็บหน้าอกแบบปวดแสบปวดร้อนซีกใดซีกหนึ่งตามแนวเส้นประสาท(dermatome)
พบผื่นแบบ(maculopapular) ซึ่งจะกลายเป็นตุ่มน้ำ(vesicles) ภายใน 1-2วันหรือแผลไปตามแนวdermatome
Herpes zoste
ถ้าปวด มีไข้ให้ paracetamol
หากเป็นผื่นทาด้วย calamine
lotion หรือน้ำจากการบดต้น
เสลดพังพอนทาวันละ 2-3 ครั้ง
ควรส่งต่อใน 1 สัปดาห์ ถ้ามีการลุกลามขึ้นที่บริเวณตาหู / ปวดรุนแรง / กระจายทั่วตัว /ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
หายใจลำบากหอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาวอาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
ตรวจร่างกายตอนไม่มีอาการหอบจะไม่พบความผิดปกติช่วงที่มีอาการหอบจะฟังปอดได้ยินเสียงwheezing หรือ
Rhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
Asthma /Status asmaticus
แนะนำหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการ
ปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamol
ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamol
ยาขยายหลอดลม DPI /MDI
ส่งต่อทันที ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลัง
พ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
หอบเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง ในระยะรุนแรงหอบเหนื่อยจนทำงานไม่ได้ มีอาการหอบกำเริบเป็นๆหายๆไอเรื้อรังมีเสมหะ
สีขาว ประวัติสูบบุหรี่พบในวัยกลางคนหรือ ผู้สูงอายุ
COPD
แนะนำหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยง
มลพิษทางอากาศ
ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทานตามคำสั่งการรักษาของแพทย์ในรายที่เป็นรุนแรงจำเป็นต้องใช้ยาก corticosteroid สุดพ่นคล้าย
ผู้ป่วยหอบหืดส่งต่อทันที ถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้นใน 4-6 ชั่วโมง
มีไข้เสมหะมีหนองให้ยาปฏิชีวนะ
เหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้หอบเหนื่อยเป็นช่วงๆโดยเฉพาะกลางคืนมีไอเป็นพักๆมีประวัติ HT /โรคหัวใจ/เบาหวาน
นอนราบไม่ได้พบ neck vein engorgement พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้าบางรายพบ ascites
ชีพจรเบาเร็วไม่ สม่ำเสมอ ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
Congestive Heart failure
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ให้น้ำเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
ให้ยาขับปัสสาวะ/ACEI (ตาม
standing order หรือยาของผู้ป่วย)
ส่งต่อทันที
เหนื่อยหอบ นอนราบ ไม่ได้ไอมีเสมหะปนเลือด
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation ชายปอดด้านล่างอาจพบ cyanosis
Acute pulmonary edema
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่ O2 Saturation
ส่งต่อทันที
อาการหอบเหนื่อยปวดแบบ sharp pain เป็นมากเมื่อหายใจเข้า-ออกประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจ
อาการหอบเหนื่อย อาจมี cyanosis พบ pleural friction rub ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation/ Decreased breath
Sound ไข้ ไอมีเสมหะ
Pneumonitis
ภาวะฉุกเฉิน
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ส่งต่อทันที
หายใจหอบลึก มีอาการหลังภาวะเครียด/มีเรื่องขัดใจ
หายใจหอบลึก
มื่อจีบเกร็งทั้งสองข้าง
Hyper-
ventilation
หายใจในกรวยกระดาษหรือ
ถุงพลาสติก
แนะนำให้หายใจเข้าออกซ้า ๆ
ไม่ควรให้ออกซิเจน
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 30 นาที
อาการใจสั่นเจ็บหน้าอกรุนแรงหอบเหนื่อยแขนขาข้างหนึ่งอ่อนแรงฉับพลันเป็นลมหมดสติ
ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอด
กล้ามเนื้อหัวใจตาย ลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดสมอง/ปอดภาวะฉุกเฉิน
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
อาการใจสั่นตกเลือดรุนแรง ปวดท้องรุนแรง อาเจียนรุนแรง ท้องเดินรุนแรง ถ่ายดำ เป็นลมหน้ามืด เวลาลุกนั่งหรือยืน
อาการใจสั่นตกเลือดรุนแรง ปวดท้องรุนแรง อาเจียนรุนแรง ท้องเดินรุนแรง ถ่ายดำ เป็นลมหน้ามืด เวลาลุกนั่งหรือยืน
Shock
อาการใจสั่น หายใจหอบเหนื่อยข้อเท้าบวม หน้าแข้งกดบุ๋ม ภาวะซีด
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีเต้น สม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด พบ neck vein engorgement
พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า ฟังปอดได้ยินเสียงfine crepitation
Congestive Heart
failure
อาการใจสั่น มี
อาการเรื้อรัง
ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอดฟังเสียงหัวใจได้ยินเสียง murmur
โรคลิ้นหัวใจพิการ/
โรคหัวใจรูมาติก
พิจารณาให้ยาตามความจำเป็น
ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง
อาการใจสั่น
น้ำหนักลดฮวบ
ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอดมากกว่า 120 ครั้งต่อนาที มือสั่น ตาโปน ขี้ร้อน เหงื่อมาก คอพอก
Hyperthyroidism
กรณี Hyperthyroidism
มีชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
เต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
ส่งต่อภายใน 3 วัน
อาการใจสั่นหลัง
การออกกำลังกาย
ชีพจร 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
ออกกำลังกาย
หักโหม
ให้นั่งพัก
แนะนำการออกกำลังกายที่ถูกวิธี
อาการใจสั่น หลังการสูบบุหรี่ดื่มเหล้าดื่มกาแฟหรือยาชูกำลังทานกินยาแก้หอบแก้หวัดหรือยาอื่นๆ
ชีพจร 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
ฤทธิ์ข้างเคียงของ
สารกระตุ้น
ให้ดื่มน้ำมากๆ
หยุดยาหรือสารกระตุ้น
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 6 ชั่วโมง
อาการใจสั่นแต่สาเหตุและอาการ ไม่ชัดเจน
ต้องการวินิจฉัยเพิ่มเติม
สังเกตุอาการหนึ่งสัปดาห์ควรส่งต่อหากไม่ดีขึ้น
อาการใจสั่นมีเรื่องวิตกกังวลคิดมากหรือนอนไม่หลับร่วมด้วย
ชีพจร >100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
วิตกกังวล
แนะนำของออกกำลังกาย
การผ่อนคลายความเครียด
ให้ยาคลายกังวล เช่น
Hydroxyzine (25mg.) 2 tab O
tid. pc ths
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 1 สัปดาห์
เจ็บปวดแบบแสบร้อนเหมือนโดนไฟลวกในอกทั่วๆไปอาการเป็นๆหายๆมีอาการเปรี้ยวในคอ เจ็บคอ แสบลิ้น
ㆍ ปวดแสบร้อน(heartburn) บริเวณepigastrium30 -60 นาทีหลังอาหาร/ หลังกินอาหารแล้วล้มตัวนอน
Gastroeso-phageal reflux disease /Refluxesophagitis
ㆍให้ Aluminum hydroxide 15 ml.
O qid. pc หลังอาหาร 1 ชั่วโมง
Ranitidine
150 mg. Oทุก 12 ชั่วโมง
หากท้องอืดให้ Simethicone
1-2 tab O qid. pc และhs. (ไม่
เกิน 500 mg/day)หรือให้
M. carminative 1-2 ซ้อนโต๊ะO
tid. /qid. pc หลังอาหาร
ให้ยา 1 สัปตาห์ นัดติดตามอาการ
หากดีขึ้นให้ยารับประทานต่อ 2 เดือน
ควรส่งต่อเพื่อการรักษาที่เหมาะสม
เมื่อพบว่าอาการไม่ดีขึ้นใน 1 สัปดาห์
หรือเป็นๆหายๆเรื้อรัง / มีน้ำหนักลด
อาเจียน ถ่ายดำ ซีดหรือดีซ่าน/ ใน
ผู้ป้วยที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
หรือไอเรื้อรังอาหารไม่ย่อยท้องอึด อาจมีประวัติสำลักอาหารเกิดอาการหลังรับประทานอาหารหรือตอนนอนราบ
พฤติกรรม สูบบุหรี่รับประทานอาหารเผ็ด อาหารมันดื่มซา กาแฟ /อ้วน/ตั้งครรภ์
นางสาวนฤมล กุณะแก้ว 60170024