Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น
สาเหตุของอาการเจ็บหน้าอกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
สาเหตุที่ไม่ใช่จากโรคของระบบหัวใจหลอดเลือด (non cardiovascular chest pain)
2.1 ระบบทางเดินหายใจ เช่น ภาวะน้ําในเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion) ภาวะปอดอักเสบ
(pneumonitis) ลมรั่วในปอด (pneumothorax)
2.2 ระบบทางเดินอาหาร เช่น หลอดอาหารบีบตัวผิดปกติ (esophageal spasm) หลอด
อาหารอักเสบ (reflux esophagitis)
2.3 โรคระบบประสาท กล้ามเนื้อและข้อต่อ เช่น กระดูกอ่อนของซี่โครงอักเสบ
(costochondritis) กระดูกซี่โครงหักกล้ามเนื้ออักเสบ
2.4 สาเหตุจากอารมณ์และจิตใจ เช่น วิตกกังวลอย่างมาก psychosomatic disorder
1 สาเหตุจากระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular chest pain)
1.1 Coronary artery disease คือ อาการเจ็บหน้าอกที่เกิดจากเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่
เพียงพอทําให้เซลล์ขาดออกซิเจนจนเกิดของเสียคั่งหากเกิดเพียงชั่วคราวจะเกิดอาการเจ็บหน้าอกเรียกว่าangina pectoris
1) ปวดแบบแน่นๆ
หรือหนักบริเวณหน้าอกเหมือนมีอะไรมาบีบรัด
2) สิ่งกระตุ้นให้เกิดอาการคือการออกแรง
มากๆ เช่น เดินขึ้นที่สูง วิ่ง
3) อาการทุเลาลงหรือดีขึ้นเมื่อหยุดพักหรือได้รับยาไนโตรกลีเซอรีน
1.2 Non coronary artery disease คืออาการเจ็บหน้าอกที่มีสาเหตุจากระบบหัวใจหลอดเลือด
อื่นๆที่ไม่ใช่หลอดเลือดโคโรนารี
สาเหตุอาการเจ็บหน้าอกที่เป็นภาวะฉุกเฉิน
ควรส่งต่อทันทีถ้ามีอาการร่วมกับข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
Shock
• เจ็บหน้าอกร่วมกับมีเหงื่อออก จุกบริเวณลิ้นปี่ร้าวไปกราม คอ ไหล่หรือแขน: อาจเป็น acute
coronary syndrome
• หายใจหอบ เจ็บหน้าอกรุนแรง : อาจเป็น cardiac tamponade, pericarditis, acute aortic
dissection, acute pulmonary embolism,
• มีไข้หนาวสั่น หรือมีไข้ร่วมกับเจ็บหน้าอกเวลาหายใจ : อาจเป็น pneumonitis
• เคาะปอดทึบฟังเสียงปอดมีเสียงหายใจค่อย : อาจเป็น pneumothorax
• ตกเลือด
การรักษาเบื้องต้นก่อนส่งต่อ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ํา ตามความเหมาะสมพิจารณาให้ยา
ตามความจําเป็นเพื่อบรรเทาอาการส่งต่อภายใน 3 วัน ได้แก่
มีไข้เกิน 7 วัน
น้ําหนักลด
ซีด/ดีซ่าน
แนวทางการประเมิน
การสัมภาษณ์ประวัติสุขภาพ (History taking)
“OLDCARTS” เป็นกรอบแนวคิดในการซักประวัติ ได้แก่
C = Characteristic: ลักษณะของอาการเจ็บหน้าอกที่เกิดขึ้น เป็นแบบปวดแน่นหรือเหมือนถูกกด
ทับที่หน้าอก (tightness or pressure), sharp pain, burning
A = Associate symptom: อาการอื่นที่เกิดร่วมกับอาการปวด เช่น เหงื่อแตก ใจสั่น ตัวเย็น ไอ
เหนื่อยหอบ กลืนลําบาก หรือสิ่งที่ทําให้อาการเจ็บหน้าอกมากขึ้น
D = Duration: ระยะเวลาที่มีอาการเจ็บหน้าอกและความถี่ของอาการเจ็บหน้าอก
R = Relieving factor: ปัจจัยที่ช่วยให้อาการบรรเทาเจ็บหน้าอกดีขึ้นหรือหายไป
L = Location: ตําแหน่งที่มีอากาปวดรหรือมีอาการปวดร้าวต่อเนื่อง(radiation)ไปบริเวณใด
T= timing: ระยะเวลาเฉพาะที่มักมีอาการเจ็บหน้าอก
O = Onset อาการเจ็บหน้าอกเริ่มต้นเมื่อใด เกิดขึ้นทันทีทันใดหรือค่อยเป็นค่อยไป
S= setting: ท่าทาง/ กิจกรรม/ อารมณ์ ความรู้สึก/ สิ่งแวดล้อมและสถานที่ที่ทําให้เกิดอาการ
เจ็บหน้าอก
การตรวจร่างกายที่สําคัญเพื่อการวินิจฉัยแยกโรค
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก (chest pain) หรืออาการไม่สบายที่หน้าอก (chest discomfort)
คืออาการเจ็บปวด จุกแน่น เจ็บแปลบบริเวณช่องอกด้านหน้าจากบริเวณ suprasternal notch ไป
ยัง xiphoid process โดยมีบริเวณระหว่างแนวเส้นกึ่งกลางรักแร้ (midaxillary line) ด้านซ้ายและขวา