Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ฮอร์โมน และยาต้านฮอร์โมน - Coggle Diagram
ฮอร์โมน และยาต้านฮอร์โมน
ฮอร์โมนคุมกำเนิด
ฮอร์โมนเพศ
• Estrogen
◦Follicle ที่อยู่ในรังไข่ รก ต่อมหมวกไตชั้นนอก
◦Phytoestrogenเช่น flavone, isoflavoneจากพืชเช่น ถั่วเหลือง
◦Estrogen ที่ไดจ้ากการสงัเคราะห์ใชท้ดแทนฮอร์โมนจากธรรมชาติ (เช่น ที่ใช้ในยาคุมก าเนิด)
-
• Androgen i.e. testosterone
•เป็นฮอร์โมนกระตุน้การทา งานของระบบสืบพนัธ์เพศชาย สร้างจากอัณฑะ เป็นส่วนใหญ่ และจากต่อมหมวกไตชั้นนอก
การควบคุมการท างานของรังไข่
1.สมองส่วน hypothalamus หลั่ง GnRH (gonadotrophrin)เพื่อไปกระตุ้น ต่อมใต้สมอง ส่วนหน้า (pituitary)
- ต่อมใต้สมองส่วนหน้า (pituitary)หลั่ง Follicle stimulating hormone (FSH) และ LutinizingHormone (LH)
- FSH และ LH จะไปกระตนุ้การทา งานในรัง ไข่
วิธีการคุมก าเนิดแบ่งเป็น 2 แบบ
- ชั่วคราว คา นวณระยะปลอดภยัจากบนัทึกประจา เดือน วดัอุณหภูมิหลงัตื่นนอน
การคุมก าเนิดโดยใช้ฮอร์โมน
❑ยารับประทานคุมก าเนิด (oral contraceptive pills)
❑ยารับประทานคุมก าเนิดฉุกเฉิน (emergency contraceptive pills) ❑ยาฉีด (injectable contraceptive)
❑ยาฝังใตผ้วิหนงั (subdermalimplant contraceptive)
❑ห่วงคุมก าเนิดแบบมีฮอร์โมน (levonogestrelintrauterine system)
❑แผ่นแปะคุมก าเนิด (transdermal patch)
ยาเม็ดคุมก าเนิด (oral contraceptive pills)
•ชนิดที่มี Estrogen + Progesterone (combined pills)
•ชนิดที่มี Progesterone เพียงอย่างเดียว (minipills)
ยาเม็ดคุมก าเนิดแบบต่างแบบ E + P
(1)ยาเม็ดคุมก าเนิด monophasic
มีสองแบบ คือ 21 และ 28เมด็ (7 เมด็คือเมด็แป้ง วติามิน)
(2)ยาเม็ดคุมก าเนิดชนิด multiphasic
(3)ยาเม็ดคุมก าเนิดชนิด multiphasic
วิธีการรับประทานยาคุมก าเนิด
❑การเริ่มรับประทานยาในภาวะปกติ (ก่อนเริ่มใช้ยา ให้แน่ใจว่าไม่ตั้งครรภ์) เริ่มรับประทานวันแรก หรือระหว่างวันที่ 1-5 ของการมีประจา เดือน
รับประทานยาเม็ดที่มีฮอร์โมนก่อน
❑แผงยาระบุเป็นตัวเลข หรือมีลูกศรก ากับ เช่น Marvelon, Mercilon แผงยาเตือนความจา เช่น MicrogynonED เริ่มรับประทานยาในแถบสีแดงในวัน แรกที่มีประจา เดือน รับประทานวนัละ 1 เม็ดเวลาเดียวกันทุกวัน (ไม่ควรต่างกัน 12ชม.)และติดต่อกันทุกวัน
อาการข้างเคียงของ estrogen
❑เนื่องจาก estrogen ตอ้ง metabolism ผ่านตับ การรับประทาน estrogen นานๆ มีผลต่อการท างานของตับได้
❑มีผลต่อ metabolism ของ คาร์โบไฮเดรตและไขมัน ท าให้เกิดการสะสม
❑มีผลต่อระบบการควบคุมความดัน เกิดความดันโลหิตสูง
❑มีผลต่อรับการแข็งตัวของเลือด เช่น ท าให้เกิดลิ่มเลือด ได้ง่าย
อาการข้างเคียงของ
Minipillsเหมาะกับ
- ผมู้ีประวตัิ thrombosis
- สตรีหลงัคลอดบุตร
- สตรีเลี้ยงลูกด้วยนมมารดา
35 ปี + สูบบุหรี่
- ไวต่อการเกิดฝ้า ปวดศรีษะไมเกรน มี TG ในเลือดสูง
- HT หรือโรคในระบบหวัใจและหลอดเลือด
-
ผู้ที่ควรระวังการใช้ยาคุมก าเนิด
•ปวดศรีษะไมเกรน เลือกปริมาณฮอร์โมนต่า ๆ (+ อายมุากสูบบุหรี่ ความดนัสูงไม่ควรใช้)
•< 35 ปี +คุมความดนัไดด้ี •< 35 ปี + DM + ไม่มีภาวะแทรกซ้อน เลือกปริมาณฮอร์โมนต ่าๆ
•มีเนื้องอกในมดลูก •gestational diabetes เลือกปริมาณฮอร์โมนต่า ๆ •ผู้ที่เตรียมตัวผ่าตัด เสี่ยงเกิด thrombosis
•โรคลมชกั
ยาคุมรูปแบบอื่นๆ
- ยาฉีดคุมก าเนิด
ยาฝังคุมก าเนิด
แผ่นแปะคุมก าเนิด (transdermalPatch) , Evra®
ยาเม็ดคุมก าเนิดฉุกเฉิน(Emergency contraceptives )
ยาเลื่อนประจ าเดือน
- Norethisteroneหรือ Primolut®N
การรับประทาน
ตอ้งรับประทานล่วงหน้า 3 วันก่อนมีประจ าเดือน ครั้งละ1 เมด็ วนั ละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น รับประทานต่อเนื่องกันทุกวัน เมื่อหยุดยาประจา เดือน จะมาภายใน 2-4 วัน
Hormone replacement therapy
•วยัทอง หรือวยัหมดระด
-มีการลดลงของไข่และ follicle -Estrogen + progesterone ลดลง -มีการตอบสนองต่อ FSH , LH เปลี่ยนแปลงไป -รอบประจ าเดือนมาไม่สม ่าเสมอ รอบยาวขึ้นและมีรอบเดือนหยดุ ติดต่อกัน 6-12 เดือน
-
ยารักษาภาวะ hyperthyroidism
- ยากลุ่ม thioamides
- ยากลุ่ม Radioactive (131I-)
- ยากลุ่มß-adrenergic blockers