Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3/1 สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคผิวหนัง, น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก เลขที่ 91 …
บทที่3/1
สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคผิวหนัง
แบ่งเป็น
1.สมุนไพรที่ใช้กําจัดเหา
มีดังนี้
1.1 น้อยหน่า
วิธีใช้
1.ใช้ใบน้อยหน่าสดประมาณ 4 ใบ
1.1 ตําผสมกับเหล้าขาว แล้วเอานํ้าที่ได้มาชโลมให้ทั่วศีรษะ
1.2 ใช้ผ้าคลุมไว้ประมาณ 10 นาที
2.ใช้เมล็ด
2.1 นํามาบด คั้นกับนํ้ามะพร้าว (1:2)
2.2 กรองเอาแต่นํ้ามาชโลมให้ทั่วศีรษะ
2.3 ใช้ผ้าโพกไว้ประมาณ 1 - 2 ชั่วโมง ห้ามชโลมยาทิ้งไว้ข้ามคืน
ทําเสร็จแล้วใช้หวีสางออก แล้วสระผมทุกครั้ง
1.2 ยาครีมเมล็ดน้อยหน่า
วิธีใช้
ชโลมครีม 20 - 30 กรัม ที่ผม ทิ้งไว้ประมาณ 3 ชั่วโมง
2.ใช้สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ติดต่อกัน 3 สัปดาห์
ควรระวังอย่าให้ครีมเข้าตา และอย่าใช้บริเวณที่มีแผล
อาจเกิดอาการคัน มีผื่นแดง หรือผื่นแพ้หากมีอาการดังกล่าวให้หยุดใช้ยา
ครีมที่ออกฤทธิ์ฆ่าเหาได้ดีและเหมาะสมที่สุด
คือ ครีมชนิด 20%
ซึ่งให้ผลฆ่าเหาได้ถึง 93% ภายใน 3 ชั่วโมง
ครีมเมล็ดน้อยหน่า ที่เตรียมใหม่ (C(0))
แบ่งเป็น
(C(12))
เก็บไว้ในตู้เย็นนาน 12 เดือน
(C(12R))
เก็บไว้ที่อุณหภูมิห้องนาน 12 เดือน
(C(6))
เก็บไว้ในตู้เย็นนาน 6 เดือน
ความสามารถในการฆ่าเหาของครีมเมล็ดน้อยหน่าสูงกว่าครีมเบส และ 25% เบนซิลเบนโซเอท
2.สมุนไพรที่ใช้รักษาแผลสด
มีดังนี้
2.2 ขมิ้นชัน
ใช้ผงขมิ้น 1 ช้อนโต๊ะ ผสมกับนํ้ามันมะพร้าวหรือนํ้ามันหมู 2 - 3 ช้อนโต๊ะ
เคี่ยวด้วยไฟอ่อนๆ จนเป็นสีเหลือง
ใช้นํ้ามันที่ได้ใส่แผล
นําขมิ้นชันมาล้างให้สะอาด ตําจนละเอียด คั้นเอานํ้าใส่แผล
นำขมิ้นมาผสมกับนํ้าปูนใสเล็กน้อยและผสมสารส้มหรือดินประสิว
พอกบริเวณที่เป็นแผล
ช่วยแก้เคล็ดขัดยอกได้
2.3 ยาครีมบัวบก
ทําความสะอาดแผลก่อนทายา
ทาวันละ 1 - 3 ครั้ง หรือตามแพทย์สั่ง
ห้ามใช้ใน
ผู้ป่วยที่แพ้พืชในวงศ์ Umbelliferae
เช่น
ยี่หร่า
ผักชี
ผู้ที่มีประวัติเป็นโรคมะเร็งผิวหนัง
แผลเปิด
ช่วยสมานแผล
ทาสารสกัดใบบัวบกชนิดขี้ผึ้งหรือผง อาจทําให้เกิดผื่นแพ้สัมผัสได้
2.1 มะขาม
ใช้เปลือกเมล็ด นําไปต้ม
นํามาล้างแผล ช่วยสมานแผลได้
กะเทาะเมล็ดออก
2.4 ยานํ้าเปลือกมังคุด
ทาบริเวณที่อาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น
ห้ามทาบริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
ใช้ทาแผลสดและแผลเรื้อรัง
สมุนไพรที่ใช้รักษาแผลไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก
มีดังนี้
3.3 นํ้ามันมะพร้าว
ใช้สําลีชุบนํ้ามันมะพร้าวทาแผลบาง ๆ ทุก 10-15 นาที
3.4 ว่านหางจระเข้
ตัดใบสด ๆ ล้างให้สะอาด ปอกเปลือกออก
ล้างเมือกใต้เปลือกออกให้หมด
นําวุ้นที่อยู่ภายในมาพอกแผล ทิ้งไว้ให้แห้ง ทําติดต่อกันทุกวัน
3.2 บัวบก
ต้นสด 1 กํามือ
ล้างให้สะอาดและตําให้ละเอียด
คั้นนํ้า เอานํ้าทาชโลมบริเวณที่เป็นแผลให้ชุ่มในชั่วโมงแรก
ต่อจากนั้น ทาวันละ 3 - 4 ครั้ง จนหาย
3.5 ยาเจลว่านหางจระเข้
ใช้ทาบริเวณแผล วันละ 3 - 4 ครั้ง
อาจทําให้เกิดอาการคัน มีผื่นแดง หรือผื่นแพ้สัมผัสได้
3.1 ชาจีน
นํากากใบชาพอกแผล
สมุนไพรทีใช้รักษาแผลเรือรังจากการฉายรังสี
มีดังนี้
4.1 ว่านหางจระเข้
ตัดใบสดๆ ล้างให้สะอาด ปอกเปลือกออก
ล้างเมือกที่อยู่ใต้เปลือกออกให้หมด
นําวุ้นที่อยู่ภายในมาทาหรือพอกบริเวณที่เป็น
ทาแล้วทิ้งไว้ให้แห้ง ทําติดต่อกันทุกวัน
4.2 ยาสารละลายพญายอ
รักษา
แผลในปาก
แผลจากการฉายรังสีและเคมีบําบัด
การศึกษาทางคลินิก
พบว่า
จํานวนวันที่เป็น และคะแนนความรุนแรงของอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบน้อยกว่าระยะควบคุม
เริ่มเกิดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบช้ากว่าในระยะควบคุม
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในการใช้มาก
สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการผื่นคัน ลมพิษ
มีดังนี้
5.2 พลู
ใช้ใบสด 1 - 7 ใบ
โขลกพอแหลก
ผสมเหล้าโรงพอควรแล้วแช่ไว้สักครู่
แล้วนํามาทาบริเวณที่เป็น และควรทําเวลาจะใช้เท่านั้น
5.3 ยาเจลพลู
รักษาโรคผิวหนังที่มีการติดเชื้อจุลินทรีย์หรือที่มีอาการอักเสบและคันร่วมด้วย
ทาบาง ๆ บริเวณที่มีอาการคันวันละ 2 - 3 ครั้ง
ไม่ควรใช้กับผิวหนังถลอก
การศึกษาทางคลินิก
พบว่า
มีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับยา 0.1% betamethasone valerate
มีประสิทธิภาพดีกว่า calamine lotion
ทาปริมาณมาก ๆ บริเวณกว้าง หรือใช้นาน ๆ จะทําให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์
เช่น
อาการระคายเคืองและอักเสบของรูขุมขน
ผมหรือขนงอกมากกว่าปกติ
สิว
ผิวเปื่อย
ติดเชื้อ
ผิวบางลง
5.1 หญ้าคา
ใช้ใบต้มหรือแช่นํ้าอาบ
5.4 ยาคาลาไมน์พญายอ
ทาบาง ๆ วันละ 3 - 5 ครั้ง
เขย่าขวดก่อนใช้ยา
บรรเทาอาการผดผื่นคัน ลมพิษ ตุ่มคัน
ห้ามใช้ที่ริมฝีปากและในช่องปาก
สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการผิวหนังพุพอง นํ้าเหลืองเสีย
มีดังนี้
6.1 เหงือกปลาหมอ
ใช้ทั้งต้นและใบสดหรือแห้งประมาณ 3 – 4 กํามือ
ล้างให้สะอาด
นํามาสับหรือหั่นเป็นชิ้น
ต้มนํ้าอาบหรือชะล้างแผล ใช้ติดต่อกัน 3 - 4 ครั้ง
6.2 ขมิ้นชัน
ใช้เหง้าสดหั่นเป็นแว่น บดให้ละเอียด
ใช้ส่วนที่เป็นนํ้าทาบริเวณที่เป็น
หรือใช้เหง้าแห้งบดให้ละเอียดนํามาโรยแผล
สมุนไพรที่ใช้แก้พิษแมลง สัตว์ กัดต่อย
มีดังนี้
7.1 ตําลึง
ใช้ใบสด 2 - 10 ใบ
ขยี้ แล้วนํามาทาหรือพอก
ใช้แก้อาการคันจากตําแยได้
7.2 ผักบุ้งทะเล
นําใบและเถาผักบุ้งทะเล 1 กํามือ ล้างให้สะอาด ตําให้ละเอียด
คั้นเอานํ้าทาบริเวณที่อักเสบบวมแดง
7.3 ขมิ้นชัน
ล้างนํ้าให้สะอาด แล้วตําจนละเอียด คั้นเอาแต่นํ้ามาทาบริเวณที่เป็น
7.4 พญายอ
ใช้ใบเพสลาด 2 - 10 ใบ
ขยี้หรือตําให้แหลก นํามาทาหรือพอก
7.5 ยาโลชั่น หรือยาหม่องพญายอ
บรรเทาอาการ
บวม
อักเสบ
ปวด
7.6 ยาทิงเจอร์พลู
บรรเทาอาการผิวหนังอักเสบ
ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น
ห้ามทา
บริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
เมื่อทาติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทําให้ผิวหนังเป็นสีดํา แต่เมื่อหยุดยาแล้วอาการจะหายไป
สมุนไพรทีใช้รักษากลาก เกลื้อน
มีดังนี้
8.1 ขมิ้นชัน
ใช้ผงขมิ้นผสมกับนํ้า
ทาเช้าและเย็น
8.2 กระเทียม
ฝานกลีบกระเทียมแล้วนํามาถูบ่อย ๆ บริเวณที่มีเกลื้อน
8.3 ข่า
ใช้เหง้าสดฝนกับเหล้าโรงหรือนํ้าส้มสายชู
ทาบริเวณที่มีรอยโรคเกลื้อน
8.4 ชุมเห็ดเทศ
ใช้ใบ3 - 4 ใบ ตําให้ละเอียด
เติมนํ้ามะนาวเล็กน้อย
ทาวันละ 2 -3 ครั้ง
ใช้ใบสดมาตําแช่กับเหล้า
นำส่วนของเหล้านํามาทาบริเวณที่เป็นวันละ 2 - 3 ครั้ง
นําใบมาตําหรือคั้น นำนํ้าผสมกับนํ้าปูนใสใช้ทา หรือผสมกับวาสลีน ทําเป็นยาขี้ผึ้งทา
ใช้ใบสดนตําให้ละเอียดหรือขยี้ ใช้ทาถูบริเวณที่เป็นนาน ๆ และบ่อย ๆ
การศึกษาทางคลินิก
พบว่า
สกัดจากแอลกอฮอล์และครีมที่มีความเข้มข้น 20%
รักษากลากเกลื้อนให้หายได้ 100%
สารสกัดจากใบชุมเห็ดเทศสดที่ความเข้มข้นมากกว่า 70 %
ให้ผลดีในการรักษาโรคเกลื้อน
ช่วยป้องกันการกลับมาเป็นใหม่ได้นานถึง 1 ปี
8.5 ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง
ทาบริเวณที่มีอาการวันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็นจนกว่าจะหาย
และใช้ต่อเนื่องอีกอย่างน้อย 2 สัปดาห์
ห้ามทา
บริเวณขอบตาและเนื้อเยื่ออ่อน
บริเวณผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด
สมุนไพรที่ใช้รักษาเริม งูสวัด
มีดังนี้
9.1 ตําลึง
ใช้ใบสดประมาณ 2 กํามือ
ตำให้ละเอียด
เติมดินสอพอง 1 ใน 4 ส่วน
นํามาทาบ่อย ๆ บริเวณที่เป็น
9.2 พญายอ
ใช้ใบสดประมาณ 1 กํามือ
ตำผสมเหล้าทาบ่อย ๆ
9.3 ยาครีมพญายอ
รักษาอาการของโรคเริม งูสวัด อีสุกอีใส
ทาบาง ๆ บริเวณที่เป็น วันละ 5 ครั้ง
ห้ามใช้บริเวณริมฝีปากและภายในช่องปาก
9.4 ยาทิงเจอร์พญายอ
ทาบาง ๆ บริเวณที่เป็น ทุก 2 - 4 ชั่วโมง
ห้ามใช้บริเวณที่มีบาดแผล
การศึกษาทางคลินิก
สารสกัดด้วยเฮกเซน บิวทานอล และเอทิลอะซิเตทจากใบเสลดพังพอนตัวเมีย
มีฤทธิ์ต้านไวรัสเชื้อเริม HSV-1
น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก เลขที่ 91
รหัสนักศึกษา 62111301094 ปี 2 รุ่นที่ 37