Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 ส่วนที่ใช้และ องค์ประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร, นางสาวน้ำฝน …
บทที่ 3 ส่วนที่ใช้และ
องค์ประกอบที่สำคัญของพืชสมุนไพร
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรกับเส้นผม
-ว่านมหาเมฆ
-ทองพันชั่ง
-ถั่วเหลือง
-ผักใบเขียวหรือผลไม้สีแดงเหลือง
สมุนไพรรักษาสิว -ตำรับยำเบญจโลกวิเชียร ได้แก่
สารสกัดมังคุด,ว่านหางจระเข้ และผงขมิ้นแห้ง
-รากสมุนไพรเดี่ยวทั้ง 5ชนิดในตำรับ
(คนทา ย่านาง เท้ายายม่อม มะเดื่ออุทุมพร ชิงชี่)
-เปลือกมังคุด
-และเปลือกมังคุดผสมตำรับยาห้ำราก
สมุนไพรป้องกัน/ลดริ้วรอย
-สารเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้น
-สารสกัดจากรำข้าว
-ผลแตงกวา
-บัวบก
-ผลมะขามป้อม
-ว่านหางจระเข้
สมุนไพรที่มีสารป้องกันมลพิษ
-ชะเอมเทศ
-สารสกัดโกฐน้ำเต้า
-สารสกัดใบหม่อน
-สารสกัดมะหาด
สมุนไพรที่ใช้รักษาโรคผิวหนัง
สมุนไพรที่ใช้กำจัดเหา
-น้อยหน่า
-ยาครีมเมล็ดน้อยหน่า
-
สมุนไพรที่ใช้รักษาแผลสด
-มะขาม -ขมิ้นชัน
-ยาครีมใบบัวบก
-ยาน้ำเปลือกมังคุด
สมุนไพรที่ใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
-ชาจีน -บัวบก
-น้ำมันมะพร้าว
-ว่านหางจระเข้
-ยาเจลว่านหางจระเข้
สมุนไพรที่ใช้รักษาแผลเรื้อรังจากการฉายรังษี
-ว่านหางจระเข้
-ยาสารละลายพยาญอ
สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการผื่นคัน ลมพิษ
-หญ้าคา -พลู
-ยาเจลพลู -ยาคาลาไมน์พญายอ
สมุนไพรที่ใช้รักษาอาการผิวหนังพุพอง น้ำเหลืองเสีย
-เหงือกปลาหมอ
-ขมิ้นชัน
สมุนไพรที่แก้พิษแมลง สัตว์ กัดต่อย
-ตำลึึง -ผักบุ้งทะเล
-ขมิ้นชัน -พญายอหรือยาหม่องพญายอ
-ยาทิงเจอร์พลู
สมุนไพรที่ใช้รักษากลาก เกลื้อน
-ขมิ้นชัน -กระเทียม
-ข่า -ชุมเห็ดเทศ
สมุนไพรที่ใช้รักษาเริม งูสวัด
-ตำลึง
-พญายอหรือยาครีมยญายอ
-ยาทิงเจอร์พญายอ
อันตรกิริยาระหว่างยาสมุนไพรกับยาแผนปัจจุบัน
อันตรกิริยาของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกับยาแผนปัจจุบันเป็นสิ่งสามารถเกิดขึ้นได้ และอาจก่อให้เกิดอันตรายแก่ชีวิตผู้ป่วยเช่นเดียวกับการเกิดอันตรกิริยาระหว่างกันของยาแผนปัจจุบันดังนั้นการเก็บรวบรวมข้อมูลผลอาการไม่พึงประสงค์และอันตรกิริยาของยากับสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้งการรายงานข้อมูลที่เกิดขึ้นอย่างมีมาตรฐานจะทำให้มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์และน่าเชื่อถือสำหรับเป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ในการนำมาอ้างอิงได้มากยิ่งขึ้น
ความสำคัญของการเกิดอันตรกิริยาต่อทีมสหสาขาวิชาชีพในการดูแลและให้คำแนะนำแก่ผู้ป่วยอย่างถูกต้อง รวมถึงการสร้างความตระหนักแก่ผู้บริโภคถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นจากสมุนไพรและผลิตภัณฑ์เสริมอาหารด้วย
สมุนไพรไล่แมลงและสัตว์รังควาน
สมุนไพรไล่ยุง กะเพรา ขมิ้น ตะไคร้หอม มะกรูด ไพรีทรัม
สมุนไพรไล่มด หน่อไม้ดอง พริกป่น ขมิ้น พริกสดและมะกรูด
สมุนไพรไล่ปลวก ข่า ตะไคร้ กระเทียม ใบขี้เหล็ก น้ำส้มสายชู เกลือ
สมุนไพรไล่มุม ส้ม เปปเปอร์มินต์ เกลือ เกาลัด
สมุนไพรไล่แมลงสาบ ใบกระวานแห้ง กานพลู พริกไทย
สมุนไพรไล่แมลงวัน เปลือกส้ม น้ำส้มสายชู กระเทียม ผักกลิ่นฉุน ตะไคร้หอม
สมุนไพรไล่แมลงหวี่ กาบมะพร้าวกับเครือกระทกรก ใบหางนกยูง ดอกดาวเรือง ตะไคร้
สมุนไพรไล่ตั๊กแตน น้อยหน่า สะเดา เลี่ยน
สมุนไพรไล่เพลี้ยแป้ง น้ำยาล้างจาน พริกสด
สมุนไพรไล่เพลี้ยอ่อน หางไหลแดง ยาสูบ สะเดา สาบเสือ
สมุนไพรฆ่าเหา ยูคาลิปตัส หนอนตายหยาก น้อยหน่า ผักเสี้ยน
สมุนไพรไล่เห็บ หมัด มะคำดีควาย มะขาม น้อยหน่า สะเดา ไพล เมล็ดมันแกว
สมุนไพรไล่หนู ใบพลู ข่า กระเทียม น้ำมันสระแหน่ น้ำมันระกำ มะกรูด
สมุนไพรไล่จิ้งจก ใบสาบเสือ ใบน้อยหน่า
สมุนไพรที่ใช้แต่งสี
สีเขียว ใบเตยหอม
สีแดง กระเจี๊ยบแดง ฝาง ข้าวแดง ถั่วแดง หัวบีทรูท ครั่ง
สีน้ำตาล โกโก้
สีเหลือง ดอกกรรณิกา ขมิ้น ดอกคำฝอย คำแสด ลูกตาล ฟักทอง มันเทศ พุด
สีส้ม ส้มเขียวหวาน แครอท
สีม่วง ข้าวเหนียวดำ ผักปลัง ดอกอัญชัน
สีดำ กาบมะพร้าว ถั่วดำ
พืชที่มีพิษ
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร
-ระคายเคืองต่อเยื่อบุปากและลำคอ เช่น กระดาด บุก บอนสี เผือก
-ระคายเคืองต่อเยื่อบุกระเพราะอาหาร เช่น พืชในสกุลพลับพลึง
-ระคายเคืองต่อเยื่อบุลำไส้ เช่น มะเนียงน้ำ เทียนหยด มันแกว หางไหลแดง ก้ามปู มะคำดีควาย
-กระเพาะและลำไส้อักเสบอย่างช้าๆ เช่น กลุ่มที่มีสารเลคติน สารสเตียรอยด์แอคคาลอย สารออกซาเลท สารโคลชิซีน
พืชที่มีพิษต่อระบบหลอดเลือดและหัวใจ
-สารกลุ่มคาร์ดิแอลกลัยโคไซด์
-สารไซยาโนจินิคกลัยโคไซด์
-
พืชที่มีฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
-กดประสาทส่วนกลาง
-ทำให้ชัก
-ทำให้ประสาทหลอน
พืชที่ระคายเคืองต่อผิวหนัง
-พืชที่มีหนามหรือและมีสารพิษ
-พืชที่มียาง
-พืชที่มีเอนไซม์
พืชที่มีผลต่อระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น ลูกเนียง
การใช้กัญชาทางการแพทย์
ผลิตภัณฑ์กัญชาทางการแพทย์ได้ประโยชน์
-ภาวะคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบาบัด
-โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
-ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
-ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้าหนักตัวน้อย
-การเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง
ตำารับยาแผนไทยที่มีกัญชาเป็นส่วนผสมจานวน 16 ตารับ
-ยาน้ำมันสนั่นไตรภพ
-ยาอัคคินีวคณะ
-ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง
-ยาศุขไสยาศน์
-ยาไฟอาวุธ
-ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย
-ยาแก้สัณฑฆาต
-ยาแก้นอนไม่หลับ
-ยาแก้โรคจิต
-ยาอัมฤตโอสถ
-ยาไพสาลี
-ยาอไภยสาลี
-ยาทำลายพระสุเมรุ
-ยาแก้ลมแก้เส้น
-ยาทัพยาธิคุณ
-ยาทาริดสีดวงทวารหนักแะผิวหนัง
สมุนไพรที่ใช้เป็นยารักษากระดูกและกล้ามเนื้อ
-เถาวัลย์เปรียง บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ แทนยากลุ่ม NSIAD
-สหัศธารา บรรเทาปวดกล้ามเนื้อ
-ยาหม่องไพล น้ำมันไพล ครีมไพล พริก บรรเทาอาการปวดเมื่อย
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาแก้ไข้
จันทน์ลีลา บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้ทับฤดู แทนยา paraceltamol
สมุนไพรที่ใช้แทนยาขับปัสสาวะ
-กระเจี๊ยบแดง
-ขลู่
-ตะไคร้
-หญ้าหนวดแมว
-หญ้าคา
-สับประรด
-อ้อยแดง
สมุนไพรแก้ไอ และขับเสมหะ
-ขิง
-ดีปลี
-เพกา
-มะขามป้อม
-มะขาม
-มะนาว
-มะแว้งเครือ
-มะแวงต้น
สมุนไพรที่ใช้เป็นยาขับลม
-ขมิ้นชัน ขิง เบญจกูล ธาตุอบเชย แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด แน่นท้อง แทนยา Simethicone Dimenhydrinate
สมุนไพรแก้ท้องเสีย
-ฝรั่ง ใบแก่ปิ้งไฟชงน้ำดื่ม หรือผลอ่อนฝนกับน้ำปูนใส
-กล้วยน้ำว้า ผลห่มหรือผลดิบฝานตากแดดหรืออบ บดป็นผงชมน้ำดื่ม
-ฟ้าทลายโจร ใบสดต้มเอาน้ำดื่ม
-ทับทิม เปลือกผลแห้ง ฝนหรือต้มกับน้ำปูนใสดื่ม
-มังคุด เปลือกผลแห้ง ย่างไฟ บดเป็นผงละลายน้ำข้าวหรือน้ำต้มสุก
-สีเสียดเหนือ ก้อนบดผง ต้มเอาน้ำดื่ม
สมุนไพรที่เป็นยาระบาย
-ชุมเห็ดเทศ ใบสดหั่นตากแห้งต้มเอาน้ำดื่ม ทดแทนยาแผนปัจจุบัน Bisacodyl
-มะขาม จิ้มเกลือทานแล้วดื่มน้ำมากๆ
-แมงลัก แช่น้ำอุ่นจนพองตัวเต็มที่
-ขี้เหล็ก ใบต้มเอาน้ำดื่มหรือใช้ใบอ่อนดองเหล้า
-คูณ เนื้อในฝักต้มกับน้ำ
สมุนไพรที่ใช้ขับพยาธิ
-ฟักทอง เมล็ดทุบให้แตกผสมน้ำตาล นม หรือน้ำหลังให้ยา2ชั่วโมง ทานน้ำมันละหุ่งระบายตาม
-มะเกลือ ผลสด โขลกพอแหลกผสมกะทิคั้นสดเอาแต่น้ำดื่มทันที3ชั่วโมงไม่ถ่ายใช้น้ำผสมดีเกลือช่วยถ่าย
-มะหาด บดละเอียด ผสมในน้ำสุกเย็น หลังให้ยา2ชั่วโมง ใช้น้ำผสมดีเกลือช่วยถ่าย
-มะขาม เมล็ดแก่คั่ว เอาด้านใน แช่น้ำเกลือจนนุ่ม
-เล็บมือนาง เมล็ดทุบพอแตก ต้มเอาน้ำดื่ม หรือหั่นทอดกับไข่กิน
-สะแก เมล็ดแก่ ตำให้ละเอียดทอดกับไข่กิน
นางสาวน้ำฝน เกิดขาว รหัส 62111301039