Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
การป้องกันและแก้ไขปัญหาด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม
สาเหตุของวิกฤตการณ์พลังงาน
ขาดการวางแผนและจัดการ ทําให้การใช้พลังงานไร้ประสิทธิภาพ ไม่คุ้มค่า
การใช้เทคโนโลยีมากและไม่เหมาะสม ทําให้สิ้นเปลืองพลังงาน
ประชากรของโลกเพิ่มมากขึ้น จนกระทั่งแหล่งพลังงานมีไม่เพียงพอ พลังงานจึงมีราคาแพงขึ้น
ขาดการรณรงค์ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์พลังงาน
มาตรการการศึกษา เช่น มีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
มาตรการรณรงค์ประชาสัมพันธ์เช่น มีการเผยแพร่ความรู้/ข้อมูลทางสื่อมวลชนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
มาตรการทางกฎหมาย เช่น มีกฎหมายส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
มาตรการทางเทคโนโลยีเช่น ส่งเสริมการคิดค้นพลังงานทดแทน
มาตรการทางเศรษฐกิจ เช่น ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวคิดในการอนุรักษ์พลังงานของประเทศไทย
แผนการอนุรักษ์พลังงานในช่วงปี พ.ศ. 2551-2554
การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน
การประกาศรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการจราจรและการขนส่ง ทั้งการขนส่งคนและสินค้า
การจัดการด้านการใช้พลังงานโดยวิธีประกวดราคา
การสนับสนุนการดําเนินการที่ทําให้เกิดการขนส่งสินค้าอย่างมีประสิทธิภาพ
การใช้พลังงานทดแทน
การพัฒนาและส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดการใช้พลังงานหมุนเวียนทุกประเภท
การส่งเสริมการนําพลังงานหมุนเวียนมาใช้ให้เต็มศักยภาพ
การประชาสัมพันธ์
การเผยแพร่วิธีการประหยัดพลังงานที่ทําได้ง่ายในชีวิตประจําวัน และมีการลงทุนต่ําหรือไม่มีเลย
การให้ความรู้ สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานทางเลือก
การดําเนินการประชาสัมพันธ์เพื่อให้ประชาชนทั่วไปทราบถึงความสําคัญและผลกระทบ
การพัฒนาบุคลากร
การจัดฝึกอบรมด้านพลังงานและการจัดการพลังงานให้แก่อาจารย์และนักศึกษาที่มีพื้นฐานทางวิศวกรรม
การส่งเสริมการเรียนการสอนและห้องปฏิบัติการด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานหมุนเวียน
แผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี(พ.ศ. 2554-2573)
มาตรการภายใต้แผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี(พ.ศ. 2554-2573)
ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ ภาคอาคารธุรกิจและบ้านพัก
อาศัย ภาคอุตสาหกรรม และภาคขนส่ง มาตรการดําเนินงานของแต่ละกลุ่มเป้าหมายจึงมีความแตกต่างกัน
ประมาณการผลประหยัดจากการดําเนินการภายใต้แผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงาน 20 ปี(พ.ศ. 2554-2573)
กระทรวงพลังงาน (2556) ได้คาดการณ์ไว้ว่าในกรณีที่สามารถดําเนินมาตรการอนุรักษ์พลังงานจนบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ตามแผนปฏิบัติการอนุรักษ์พลังงานฯนี้
ผลประหยัดที่จะเกิดขึ้นในปีพ.ศ. 2573 มีมูลค่ารวม 38,845 ktoe
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ปัญหาด้านพลังงาน
เมื่อถึงระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)
ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทยเผชิญกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ และสถานการณ์ในขณะนั้นได้สะท้อนผลการพัฒนาประเทศที่ไม่สมดุลและยั่งยืน
เนื่องจากมุ่งการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นหลัก สังคมไทยจึงได้ตระหนักและน้อมนําหลัก“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่11 (พ.ศ. 2555-2559)
มีแนวคิดที่มีความต่อเนื่องจากแนวคิดของ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10
โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”
จากการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1-7 โดยภาพรวมสามารถสรุปได้ว่า “เศรษฐกิจดีสังคมมีปัญหาการพัฒนาไม่ยั่งยืน”
เกิดความสมดุลระหว่างมิติทางวัตถุกับจิตใจของคนในชาติความสมดุลระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแข่งขันในเวทีโลก
การอนุรักษ์พลังงานมีความเกี่ยวข้องกับแนวคิดและค่านิยมของสังคมมนุษย์ด้วย
มนุษย์คิดอย่างไรหรือตัดสินใจอย่างไรในวิถีชีวิตการกินอยู่ มีความพอใจในความสะดวกสบายระดับใด
มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงแนวคิดและค่านิยม
เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์