Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
คำที่มาจากภาษาจากประเทศ(16), การสังเกตคำที่มาจากภาษาอังกฤษ - Coggle Diagram
คำที่มาจากภาษาจากประเทศ(16)
บาลี สันษกฤต(18) :
บาลี
มีพยัญชนะ 33 ตัว
แบ่งออกเป็น5วรรค
วรรค จ จ ฉ ช ฌ ญ
วรรค ฏ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ,
วรรค ก ก ข ค ฆ ง.
วรรค ต ต ท ถ ธ น,
วรรค ป ป ผ พ ภ ม
เศษวรรค ย ร ล ว ส ห ฬ อ(อัง)
มีสระ -ะ -า ิ ี ุ ู เ โ
ใช้คำนำหน้า ปฏิ นิยมใช้ ฬ
ไม่นิยมใช้ควบกล้ำ
สันสกฤต
พยัญชนะ เพิ่มมาจากบาลี 2 ตัว คือ ศ ษ
มีสระ 14 ตัว เพิ่มมาจากบาลี 6 ตัว
-ะ -า ิ ี ุ ู เ โ
ไ เ-า ฤ ฤา ฦา
นิยมใช้ รร หัน ใช้คำควบกล้ำ
ตัวสะกดมักจะลงท้ายด้วย
ชญ
กย
ชย
นย
ตย
ทย
ถย
รย
นย
มย
ชวา-มลายู(17)
ลักษณะของคำชวา-มลายู
*คำที่ยืมมักเป็นคำสองพยางค์
เช่น ทุเรียน น้อยหน่า มังคุด โลมา
*ภาษานี้ไม่มีเสียงคำควบกล้ำ
เช่น กะปะ กุเลา ตะเบ๊ะ อังกะลุง
*เสียงวรรณยุกต์ไม่มีผลต่อการจำแนกความหมาย
เช่น กระดังงา กุดัง สลัก กระจูด
*รับคำมาโดยการแปลคำศัพท์
เช่น เงาะ = รัมบุตัน
นกขเมน = บุรงกุญิต
*รับมาโดยแปลภาษา
ความหมายกว้างออก
เช่น ระหัดช
มาเลเซีย = ไนปั่นฝ้าย
ภาษาไทย = เครื่องวิดน้ำและเครื่องปั่นด้าย
ความหมายแคบเข้า
เช่น อักเสบ
มาเลเซีย = เจ็บปวดทั่วไป
ภาษาไทย = มีพิษกำเริบเนื่องจากแผล
ความหมายย้ายที่
เช่น ระยำ
มาเลเซีย = วิธีการลงโทษให้ตาย
ภาษาไทย = ชั่วช้า เลวทรามและใช้เป็นคำด่า
*ออกเสียงเหมือนเดิมหรือใกล้เคียง
กง มาจาก kong
กะปะ มาจาก kapak
*เสียงพยัญชนะบ้างเสียงเปลี่ยนเสียงพยัญชนะบ้างเสียง
กัญชา = ganja เปลี่ยนจาก/i/ เป็น /ch/
คำไทยนำมาออกเสียงสระอะบางคำแทรก"ร"ควบกล้ำ
เช่น กระตั้ว = kakatua
คำที่ใช้ในภาษาไทย
คำที่ใช้เรียนชื่อ พืช
กระดังงา
สาคู
ทุเรียน
น้อยหน่า
คง (ข้าวโพด)
คำที่ใช่เรียน สัตว์
กะปะ (งู)
โลมา
บุหรง (นกยูง)
โนรี
คำที่ใช้เรียกเครื่องใช้
กะบะ
กำยาน
ปาเต๊ะ (ผ้าโสร่ง)
คำที่ใช้เรียก สถานที่
กุดัง (โกดัง)
ภูเก็ต (บูกิต)
ยะลา (ยาลา)
คำในวรรณคดี
บุหลัน (เดือน)
ปะหนัน ปาหนัน(ดอกลำเจียก)
กระยาหรัน(วิมาน)
ภาษาชวา = อินโดนีเซีย
ภาษามลายู = มาเลย์(มาเลเซีย)
ภาษาจีน(1)
มีที่มาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน (1)
(1)มาจากการที่มีการติดต่อสื่อสาร. และการติดต่อค้าขายของคนในสมัยก่อนจึงได้มีการยืมคำศัพท์จากภาษาจีนมาใช้. และถ่ายทอดมาจนถึงปัจจุบัน
(1)คำส่วนมากที่มีการยืมมาคือ คำจำพวก อาหาร สิ่งของเครื่องใช้ ที่ได้มีการแลกเปลี่ยนกัน
(1)วิธีการสังเกตคำที่มีภาษาจีน ส่วนมากจะมี ๋ เป็นส่วนมาก
ภาษาจีน ส่วนมากเป็นคำโดด
หลักการสังเกตคำภาษาไทยที่มาจากภาษาจีน
นำมาเป็นชื่ออาหารการกิน เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง แป๊ะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย
เป็นคำที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ที่เรารับมาจากชาวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซุ้ย
เป็นคำที่เกี่ยวกับการค้าและการจัดระบบทางการค้า เช่น เจ๋ง บ๋วย หุ้น ห้าง โสหุ้ย
เป็นคำที่ใช้วรรณยุกต์ตรี จัตวา เป็นส่วนมาก เช่น ก๋วยจั๊บ กุ๊ย เก๊ เก๊ก ก๋ง ตุ๋น
ไทยนำคำภาษาจีนมาใช้ โดยมากไทยเลียนเสียงจีนได้ใกล้เคียงกว่าชาติอื่น ๆ เช่น เกาเหลา ตั้งฉ่าย เต้าทึง เป็นต้น มีบางคำที่นำมาตัดทอนและเปลี่ยนเสียง เช่น เตี้ยะหลิว ตะหลิว
ภาษาอังกฤษ (11)
ภาษาเขมร(16)
ลักษณะคําเขมรในภาษาไทย(16)
มักจะสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เผด็จ บำเพ็ญ กำธร ถกล ตรัส(16)
มักเป็นคำควบกล้ำ เช่น ไกร ขลัง ปรุง(16)
มักใช้ บัง บัน บำ นำหน้าคำที่มีสองพยางค์(16)
นิยมใช้อักษรนำ เช่น สนุก สนาน เสด็จ ถนน เฉลียว(16)
คำเขมรส่วนมากใช้เป็นราชาศัพท์ เช่น ขนง ขนอง เขนย เสวย เสด็จ (16)
การยืมคำภาษาเขมรมาใช้ในภาษาไทย(16)
ยืมมาใช้โดยตรง เช่น กระดาน กระท่อม กะทิ บัง โปรด ผกา เป็นต้น(16)
ยืมเอาคำที่แผลงแล้วมาใช้ เช่น กังวล บำบัด แผนก ผจัญ(16)
ยืมทั้งคำเดิมและคำที่แผลงแล้วมาใช้ เช่น เกิด-กำเนิด ขลัง-กำลัง เดิน-ดำเนิน ตรา-ตำรา บวช-ผนวช(16)
ใช้เป็นคำสามัญทั่วไป เช่น ขนุน เจริญ ฉงน ถนอม สงบ เป็นต้น(16)
ใช้เป็นคำในวรรณคดี เช่น ขจี เชวง เมิล สดำ สลา เป็นต้น(16)
ใช้เป็นคำราชาศัพท์ เช่น เขนาย ตรัส ทูล บรรทม เสวย เป็นต้น(16)
นำมาใช้ทั้งเป็นภาษาพูดและภาษาเขียน(16)
ตัวอย่างภาษาเขมรในภาษาไทย(16)
กระชับ กระโดง กระเดียด กระบอง กระบือ กระท่อม กระโถน กระพัง ตระพัง ตะพัง กระเพาะ กระแส กังวล กำจัด กำเดา รัญจวน ลออ สกัด สนอง สนุก สดับ สบง สังกัด สไบสำราญ สรร สำโรง แสวง แสดง กำแพง กำลัง ขนาน ขจี โขมด จัด เฉพาะ ฉบับ เชลย โดยทรวง ถนน บายศรี ประกายพรึก ปรับ ประจาน โปรด เผด็จ ผจญ ผจัญ เผอิญ เผชิญ เพ็ญเพลิง เพนียด ระลอก (16)
สมาชิกในกลุ่ม
1.ด.ญ.เกสรา โคตรชัย ม.3/1 เลขที่ 1
2.ด.ญ.ธนวรรณ โคตรประทุม ม.3/1 เลขที่ 11
3.ด.ช.ราเมศ ปุณขันธุ์ ม.3/1 เลขที่ 16
4.ด.ญ.ลลิตา ชาวชายโขง ม.3/1 เลขที่ 17
5.ด.ช.วัชระพล ริยะบุตร ม.3/1 เลขที่ 18
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอังกฤษ
ไม่มีการเปลี่ยนรูปไวยากรณ์
ส่วนมากมักจะมีคำภาษาอังกฤษใช้เรียกอาหาร. ผลไม้ สิ่งของต่างๆ
ตัวอย่าง
คำวิชาการ
-เเกรนิต(granite)
-เลนส์ (lense)
-สังคมนิยม(socialism)
ไม่ใช่คำไทยเเท้
-พุดดิ้ง(Pudding)
-โซดา(Soda)
-กอล์ฟ(golf)
-เเฟร์
ภาษาอังกฤษ เริ่มเข้ามาเเสวงหาอาณานิคมในทวีปเอเชีย
อังกฤษเริ่มเข้ามาติดต่อค้าขายกับไทย