Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การออกแบบหลักสูตร - Coggle Diagram
บทที่ 4 การออกแบบหลักสูตร
ความหมายการออกแบบหลักสูตร
การออกแบบหลักสูตรเป็นการจัดองค์ประกอบของหลักสูตร ได้แก่ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล ให้มีความเหมาะสม มีความสอดคล้องกัน
ความสัมพันธ์การออกแบบหลักสูตร
การออกแบบหลักสูตรเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาหลักสูตร เป็นขั้นตอนที่ต้องดำเนินการหลังจากที่ได้ข้อมูลพื้นฐานมาเพียงพอแล้วจึงนำข้อมูลเหล่านั้นมาออกแบบหลักสูตรในแต่ละองค์ประกอบ ตั้งแต่จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล ถ้าขาดอันใดอันหนึงจะทำให้โครงสร้างไม่สมบูรณ์
ประโยชน์ของการออกแบบหลักสูตร
1.เป็นการออกแบบหลักสูตรที่ดีช่วยสร้างความมั่นใจว่าหลักสูตรที่สร้างขึ้นสามารถเป็นแนวทางในปฏิบัติได้
2.การออกแบบหลักสูตรที่ดีช่วยเพิ่มโอกาสในความสำเร็จในการจัดการศึกษา
3.การออกแบบหลักสูตรที่ดีช่วยประหยัดเวลาและแรงงาน
4.การออกแบบหลักสูตรที่ดีช่วยในการสื่อสารและการประสารงานนักพัฒนาหลักสูตรที่สามารถออกแบบหลักสูตรไปใช้ได้
5.การออกแบบหลักสูตรที่ดีช่วยลดความตึงเครียด
การออกแบบหลักสูตรจึงเป็นประโยชน์อย่างมากในการช่วยสร้างความมั่นใจว่าหลักสูตรจะเป็นไปในแนวที่ปฏิบัติได้จริง
หลักการของการออกแบบหลักสูตรที่ดี
1.วัตถุประสงค์การออกแบบ ควรมีวัตถุประสงค์ให้เหมาะสมกับประเภทหลักสูตร ลักษณะของหลักสูตรและระดับของหลักสูตร
2.การประสานกลมเกลียวขององค์ประกอบของหลักสูตร จำเป็นต้องจัดวัตถุประสงค์ เนื้อหาิจกรรม การเรียนการสอน และการประเมินให้สัมพันธ์กัน
3.ความยากง่ายในการนำไปสร้างหลักสูตร
4.ความคุ้มค่าในการออกแบบ มีความเหมาะสมระหว่างทรัพยากรที่มีอยู่ และวิธีการ
5.การจัดรายละเอียดการออกแบบ
6.การกำหนดโครงสร้างของหลักสูตร
7.การทันต่อเหตุการณ์
ประเภทของการออกแบบหลักสูตร
1.การออกแบบหลักสูตรที่เป็นเนื้อหาวิชา
หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาวิชาการ จะเน้นเรื่องเนื้อหารายวิชา เเละถือว่าวามรู้ คือเป้าหมายสูงสุดในการเรียน เน้นเนื้อหารสาระจะจัดเป็นรายวิชาเดี่ยว ๆ โดยเรียงลำดับเนื้อหอย่างเป็นระเบียบ
หลักสูตรที่เน้นเนื้อหารวิชาการ
การกำหนดเนื้อหาสาระ
3.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
4.การประเมิน
2.หลักสูตรที่เน้นผู้เรียน
2.1 หลักสูตรแบบเอกตภาพ
2.2 หลักสูตรส่วนบุคคล
2.3 หลักสูตรกิจกรรมหรือประสบการณ์
2.4 หลักสูตรแบบอิงสมรรถภาพ
3.หลักสูตรที่เน้นปัญหาสังคม
1.กำหนดจุดมุ่งหมาย กำหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน
2.กำหนดเนื้อหาสาระและการจัดการกิจกรรมการเรียนการสอน
การบูรณาการเชิงวิธิการ
การออกแบบหลักสูตรในแต่ละองค์ประกอบ
การกำหนดจุดมุ่งหมาย พิจารณาจาก พื้นฐานทางสังคม เศรษฐกิจ อายุ เพศ โดยกำหนดให้ถูกต้องและชัดเจน การกำหนดจุดมุ่งหมาย กำหนดให้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน คือ พุทธิพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย
การกำหนดเนื้อหาสาระ คือเนื้อหาสาระต้องมีความสำคัญ มีประโยชน์มีความจำเป็นต่อผู้เรียนมีความน่าสนใจ และต้องเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการมนุษย์
3.การกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่ย การบรรยาย การสาธิต การแก้ไขปัญหาสืบสวนสอบสวน การสอนที่เน้นกิจกรรม ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วม
4.การประเมินผล