Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตามกลุ่มอาการ
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก
Acute aortic dissection
ภาวะฉุกเฉิน
การซักประวัติที่พบ
เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain ทันทีทันใด และรุนแรงตั้งแต่เริ่มแรกเหมือนมีการฉีกขาดบริเวณกลางหน้าอกและปวดทะลุไปกลางหลัง
ส่วนใหญ่มี ประวัติ HT
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ absolute bed rest เพื่อ ลดการฉีกขาดเพิ่มขึ้น
ให้ Morphine 3 – 5 mg IV dilute ทุก 10 – 15 นาทีตามคำสั่งแพทย์
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ส่งต่อทันที
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
รายที่มีการแตกของ aorta จะพบBP ตกหรือภาวะ shock
พบอาการซีดเขียวเย็นของแขน-ขาได้
ความดันโลหิต สองข้างไม่เท่ากันหรือแตกต่างกันมากกว่า 10 มิลลิเมตรปรอท
รายที่แตกเซาะไปจนถึง carotid artery จะคลำชีพจรได้เบาและฟังได้เสียงฟู่
พบชีพจรที่คอ ขา-แขนอาจไม่เท่ากัน
Angina pectoris,Printzmetal’s angina,stable angina
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
อาการเจ็บหน้าอกแบบ angina pectoris
มีอาการ referred pain ไปกราม แต่ไม่เกิน temporo- mandibular joint ไหล่ คอและแขนและไม่ต่ำกว่าสะดือ
การซักประวัติที่พบ
มีอาการเมื่อออกแรงอย่างหนัก / มีอารมณ์เครียดหรืออากาศเย็น
อาการดีขึ้นเมื่อพัก
เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอก 2-3 นาทีและมัก ไม่เกิน15 นาที
ประวัติ HT, DM, DLP
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM
ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mg ทันทีโดยเคี้ยว 1 เม็ดและกลืน1 เม็ด (กรณีไม่มี bleeding precaution)
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้น้ำเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
ให้อมยา nitroglycerine 5 mg. ใต้ลิ้น(ถ้าผู้ป่วยมียาประจำ อม 1 เม็ดห่างกัน 5 นาทีไม่เกิน 3 เม็ด) ห้ามให้ในผู้ป่วยมีภาวะ hypotension หรือ bradycardia
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ถ้าshock หรือหยุดหายใจให้ดำเนินการช่วยฟื้นคืนชีพ
ส่งต่อทันที
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากระบบทางเดินหายใจ
Pneumo-thorax , Tension Pneumo-thorax ภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
พบ neck veinengorgement
พบอาการ cyanosis
มี trachea เอียง
ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เสียงหายใจลดลง
หัวใจเต้นเร็ว
ปอดด้านที่มีพยาธิสภาพขยายตัวลดลง
ความดันโลหิตตก
อาการหอบเหนื่อย
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM / Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำ เพื่อ hemodynamic support
ประเมินสัญญาณชีพ
ส่งต่อทันที
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
การซักประวัติที่พบ
หอบ หายใจลำบาก
ประวัติอุบัติเหตุ หรือการบาดเจ็บของทรวงอก
มีอาการเจ็บหน้าอกรุนแรงทันทีทันใด
pulmonary embolism ภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
มีอาการหัวใจเต้นเร็ว
มีอาการ cyanosis
ตรวจพบ pleuritic chest pain
พบภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
อาการหอบเหนื่อย
อาจพบ neck veinengorgement
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ประเมินสัญญาณชีพ
เคี้ยวและกลืน aspirin 325mg ทันที โดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน 1 เม็ด (ไม่มี bleeding precaution)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM / Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ำ เพื่อ hemodynamic support
ส่งต่อทันที
การซักประวัติที่พบ
อาการเจ็บปวดแปลบๆเป็นมากเมื่อหายใจเข้าออกลึกๆ
มีปัจจัยเสี่ยงต่อ deep vein thrombosis (ผู้ป่วยติดเตียง /เคยผ่าตัดเกี่ยวกับสะโพก /มีการบาดเจ็บบริเวณขา /ตั้งครรภ์หรือหลังคลอด หรือมีเลือดแข็งตัวผิดปกติ)
กลุ่มอาการใจสั่น
Shock ภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
การซักประวัติที่พบ
อาเจียนรุนแรง
ท้องเดินรุนแรง
ปวดท้องรุนแรง
ถ่ายดำ
ตกเลือดรุนแรง
ป็นลมหน้ามืดเวลาลุกนั่งหรือยืน
อาการใจสั่น
Congestive Heart failure ภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
พบ neck vein engorgement
พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
การซักประวัติที่พบ
หายใจหอบเหนื่อย
ข้อเท้าบวม หน้าแข้งกดบุ๋ม
อาการใจสั่น
ภาวะซีด
กล้ามเนื้อหัวใจตายลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดสมอง/ปอด
ภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรเต้นไม่สม่ำเสมอและแรงไม่เท่ากันตลอด
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
การซักประวัติที่พบ
หอบเหนื่อย
แขนขาข้างหนึ่งอ่อนแรงฉับพลัน
เจ็บหน้าอกรุนแรง
เป็นลมหมดสติ
อาการใจสั่น
ฤทธิ์ข้างเคียงของ สารกระตุ้น
ให้ดื่มน้ำมากๆ
หยุดยาหรือสารกระตุ้น
ชีพจร 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ำเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 6 ชั่วโมง
อาการใจสั่น หลังการสูบบุหรี่ดื่มเหล้าดื่มกาแฟหรือยาชูกำลังกานกินยาแก้หอบแก้หวัดหรือยาอื่นๆ
กลุ่มอาการหายใจลำบาก หอบเหนื่อย (Dyspnea)
Acute pulmonary edema ภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation ชายปอดด้านล่าง
อาจพบ cyanosis
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM / Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ประเมิน ABCs และ V/S
ส่งต่อทันที
การซักประวัติที่พบ
เหนื่อยหอบ นอนราบ ไม่ได้
ไอมีเสมหะปนเลือด
Asthma / Status asmaticusภาวะฉุกเฉิน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ตรวจร่างกายตอนไม่มีอาการหอบจะไม่พบความผิดปกติ
ช่วงที่มีอาการหอบจะฟังปอดได้ยินเสียง wheezing หรือRhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamol ผ่าน nebulizer ต่อกับ O2 หรือพ่นยาขยายหลอดลม DPI /MDI
แนะนำหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ส่งต่อทันที ถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลัง พ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
การซักประวัติที่พบ
หายใจลำบากหอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาวอาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
Hyper-ventilation
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
หายใจหอบลึก
มือจีบเกร็งทั้งสองข้าง
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
แนะนำให้หายใจเข้าออกช้า ๆ
ไม่ควรให้ออกซิเจน
หายใจในกรวยกระดาษหรือถุงพลาสติก
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 30 นาที
การซักประวัติที่พบ
หายใจหอบลึก
มีอาการหลังภาวะเครียด/มีเรื่องขัดใจ
COPD
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
เคาะปอดเสียง hyperresonance
ฟังเสียงปอดได้เสียง wheezing
ลักษณะทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็น barrel shape
ในรายที่เป็นรุนแรงอาจไม่ได้ยินเสียงเลย
หอบ หายใจลำบากจนต้องห่อปากเวลาหายใจออก ใช้ Accessory muscleในการหายใจ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทานตามคำสั่งการรักษาของแพทย์
ในรายที่เป็นรุนแรงจำเป็นต้องใช้ยาก corticosteroid สุดพ่นคล้ายผู้ป่วยหอบหืด
ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
ส่งต่อทันที ถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้นใน 4-6 ชั่วโมง
แนะนำหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ
มีไข้เสมหะมีหนองให้ยาปฏิชีวนะ
การซักประวัติที่พบ
ไอเรื้อรังมีเสมหะ สีขาว
ประวัติสูบบุหรี่
หอบเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง ในระยะรุนแรงหอบเหนื่อยจนทำงานไม่ได้ มีอาการหอบกำเริบเป็นๆหายๆ
พบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ