Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความรุนแรง - Coggle Diagram
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความรุนแรง
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพและความรุนแรง
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
ปัจจัยภายใน
องค์ประกอบทางจิต
-อัตมโนทัศน์เป็นผลรวมความรู้สึกนึกคิดและการรับรู้ที่ลึกซึ้งและซับซ้อนที่
-บุคคลมีต่อตนเองและมีอิทธิพลมากในการกำหนดพฤติกรรม
-การรับรู้ต่อสิ่งต่างๆ
-ความเชื่อ
-เจตคติ
-ค่านิยม
-ความเครียด
องค์ประกอบทางพฤติกรรม
-พฤติกรรมเกี่ยวกับอนามัยส่วนบุคคล -พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
-พฤติกรรมการขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ
-การพักผ่อนและการนอนหลับ
-พฤติกรรมทางเพศ
-พฤติกรรมสุขภาพ
-พฤติกรรมเสี่ยง
องค์ประกอบทางกาย
-พันธุกรรม
-เพศ -เชื้อชาติ -อายุ
ปัจจัยภายนอก
องค์ประกอบทางสังคม
-ระบบครอบครัวและเครือญาติ
-ระบบการศึกษา
-ระบบการสาธารณสุข
-ระบบเศรษฐกิจและการประกอบอาชีพ
-ระบบการเมืองการปกครอง
-ระบบความเชื่อและสถาบันศาสนา
องค์ประกอบทางสิ่งแวดล้อม
-สภาพทางภูมิศาสตร์ ฤดูกาลและอุณหภูมิที่ต่างกัน
-สภาพที่อยู่อาศัยควรระบายอากาศได้ดี ห่างแหล่งอุตสาหกรรม
-สภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เช่น มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ มลพิษทางเสียง
ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรง
ปัจจัยด้านครอบครัว
ความสัมพันธ์ในครอบครัว ปัญหาการเลี้ยงดูลูก ความขัดแย้งในครอบครัว
ปัจจัยด้านสังคม
ความไม่เท่าเทียมกันของสถานภาพและบทบาท เช่นแนวคิดชายเป็นใหญ่ เป็นผู้นำ และความรุนแรงในครอบครัวเป็นเรื่องส่วนตัว
ปัจจัยส่วนบุคคล
-ลักษณะทางประชากร เช่น อายุ การศึกษา รายได้ ขนาดครอบครัว
-จิตลักษณะ ได้แก่ ความโกรธ อารมณ์รุนแรง ควบคุมตัวเองไม่ได้
-ประสบการณ์ความรุนแรงจากวัยเด็ก
สถานการณ์และแนวโน้มสุขภาพของคนไทย
4.อัตราการฆ่าตัวตาย
ในพศ.2560มีอัตราการฆ่าตัวตาย6.03/ประชากร100,000คน
5.โรคติดเชื้ออุบัติใหม่
มีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึ้น และมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสุขภาพประชาชนทั่วโลก
3.สาเหตุการเสียชีวิต
ปัญหาสำคัญที่ทำให้คนไทยเสียชีวิตเพิ่มขึ้นคือโรคไม่ติดต่อโดยเฉพาะกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด มะเร็ง เบาหวาน
6.โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ สิ่งแวดล้อม และปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อมส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนเพิ่มขึ้น
2.การสูญเสียปีสุขภาวะ
มาจากโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง
7.สถานการณ์ความรุนแรงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
1.อายุเฉลี่ยของคนไทยยืนยาวขึ้น
วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพและความรุนแรง
วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาสุขภาพ
อารมณ์
ถ้าอารมณ์ดีสุขภาพก็จะดีตามไปด้วย
อนามัยสิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมเอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดี
ออกกำลังกาย
สัปดาห์ละสามวัน วันละไม่ต่ำกว่าสามสิบนาที
อโรคยา
ทำตนให้ปราศจากความเจ็บป่วย
อาหาร
กินอาหารสะอาด ถูกสุขลักษณะ ครบห้าหมู่ ลดอาหารที่แป้งและไขมันมาก
งดเว้นอบายมุขต่างๆ
วิธีป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง
ระดับครอบครัว
เคารพเชื่อฟังคนในครอบครัว , แสดงความรักคนในครอบครัว , สมาชิกทุกคนร่วมกันแก้ปัญหา
ระดับสังคม
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องช่วยกันสอดส่องดูแล ป้องกันไม่ให้เกิดความุรนแรง , สร้างเจตคติที่ดี ความรู้ความเขุ้าใจที่ถูกต้องเหมาะสม
ระดับบุคคล
1.ฝึกควบคุมตนเอง 2.ฟังความเห็นผู้อื่น
3.ไม่ใช้กำลังแก้ปัญหา 4.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
5.หลีกเลี่ยงอบายมุขทุกประเภท