Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 เทคนิค วิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 5 เทคนิค วิธีการ และการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและความสำคัญ
ความหมาย
การสื่อสารเป็นกระบวนการ
มีการใช้สื่อในการสื่อสาร
ทำให้เกิดการตอบสนองระหว่างผู้ส่งกับผู้รับสาร
เพื่อนำเสนอ/แลกปลี่ยน/เรียนรู้
ความสำคัญ
ทำให้เกิดความเข้าใจ
ช่วยในการคาดคะเนความคิดได้
ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
การใช้ประโยชน์
ด้านชีวิตประจำวัน
ด้านสังคม
ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านการเมืองการปกครอง
ด้านการเมืองระหว่างประเทศ
วัตถุประสงค์และประเภทการสื่อสาร
วัตถุประสงค์
เพื่อแจ้งให้ทราบ
เพื่อศึกษา
ความบันเทิง
ควบคุมความประพฤติ
เพื่อสั่งคม
ประเภทการสื่อสาร
จำแนกตามการไหลของข่าวสาร
การสื่อสารทางเดียว
การสื่อสารสองทาง
จำแนกตามภาษาสัญลักษณ์ที่แสดงออก
วัจนภาษา
อวัจนภาษา
จำแนกตามผู้สื่อสาร
การสื่อสารภายใน
การสื่อสารระหว่างบุคคล
การสื่อสารภายในกลุ่มคนจำนวนหนึ่ง
การสื่อสารภายในกลุ่มคนจำนวนมาก
การสื่อสารสื่อมวลชน
หลักการสื่อสารของ นวส.
ความถูกต้อง+น่าเชื่อถือ
ความเหมาะสมของเนื้อหา
ความแจ่มแจ้ง
กาลเทศะ
ความต่อเนื่องสม่ำเสมอ
ความเหมาะสมในการใช้สื่อ
ความสามารถของผู้รับ
องค์ประกอบบของการสื่อสาร
นักส่งเสริม
ความรู้/ข่าวสาร
สื่อ
ช่องทาง
การรับรู้
เกษตรกร
สิ่งรบกวน
การประเมินผล
การจัดการความรู้+การแลกเปลี่ยนความรู้
แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสาร
การพัฒนาที่เน้นความต้องการขั้นพื้นฐานและทฤษฎีการพัฒนาแบบยั่งยืน
ความจำเป็นพื้นฐาน
ปัจจัย4
ความสามารถเข้าถึงบริการพื้นฐาน
มีแหล่งงานสำหรับทุกคนที่ตั้งใจจะทำงาน
การตอบสนองสิทธิขั้นพื้นฐาน
ทฤษฎีการพัฒนาแบบยั่งยืน
ด้านสังคม
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสิ่งแวดล้อม
แนวทางการพัฒนาอย่างยัางยืน
กำหนดระดับจำนวนประชากร
รักษา+แสวงหาทรัพยากรณ์ทดแทน
คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อทรัพยากรณ์ทดแทน
การสื่อสารเพื่อเผยแพร่นวัตกรรม
กระบวนยอมรับนวัตกรรม
ขั้นรับรู้
ขั้นสนใจ
ขั้นไตร่ตรอง
ขั้นทดลองทำ
ขั้นยอมรับนำปฏิบัติ
การตัดสินใจนวัตกรรม
ขั้นหาความรู้
การรู้จักนวัตกรรม
ความรู้วิธีการใช้นวัตกรรม
ความรู้เกี่ยวกับหลักการ
ขั้นโน้มน้าวใจ
ทัศนคติที่มีต่อนวัตกรรม
ทัศนคติที่มีีต่อการเปลี่ยนแปลง
การตัดสินใจ
การยอมรับนวัตกรรม
การปฏิเสธนวักรรม
ขั้นการยืนยันนวัตกรรม
ขั้นนำนวัตกรรมไปใช้
จำแนกกลุ่มผู้รับนวัตกรรม
กลุ่มผู้รู้สิ่งใหม่ก่อนคนอื่น
กลุ่มผู้รับสิ่งใหม่เร็ว
กลุ่มผู้รับสิ่งใหม่ส่วนมาก
กลุ่มผู้รับล่าช้าส่วนมาก
กลุ่มล้าหลัง
ทฤษฎีเผยแพร่นวัตกรรมของโรเจอร์ส
องค์ประกอบ
แนวความคิด
สื่อการติดต่อ
ช่วงเวลาหนึ่ง
ผู้รับสาร
นวัตกรรม
ความคิดใหม่
การปฏิบัติใหม่
เวลา
กระบวนการยอมรับ
ระยะเวลายอมรับสิ่งใหม่
อัตราการรับ
การพัฒนาแบบพึ่งพา และการมีส่วนร่วมทางการสื่อสาร
การพัฒนาแบบพึ่งพา
การจัดระเบียบสารสนเทศและการสื่อสารของโลกใหม่
เน้นการปกครองตามเจตนารมย์ของประชาชนภายใต้บริบทของสังคมโลก
การมีส่วนร่วมทางการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ทุกขั้นตอนของการพัฒนา
การลงคะแนนเสียง
มีสิทธิในการสื่อสาร
สิทธิที่จะทราบข้อมูล
สิทธิในการรับทราบ+บอกเล่า
เทคนิคและวิธีการสื่อสาร
บุคคลเป้าหมาย
ประเภทบุคคลเป้าหมาย
แบ่งตามจุดประสงค์
เกษตรยังชีพ
เกษตรเชิงธุรกิจ
บริษัทในประเทศ/ข้ามชาติ
ธุรกิจครอบครัว
แบ่งตามผู้นำโครงการ
ผู้นำเป็นทางการ
ผู้นำที่เป็นชนชั้นสูง
ผู้นำที่เป็นชาวบ้าน
จุดประสงค์ของการสื่อสาร
ผู้รับเข้าใจข่าวที่จะสื่อ
ผู้รับสนใจหาความรู้เพิ่มเติม
ผู้รับประยุกต์ข่าวสารได้
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการรับสื่อ
ภายใน
ความสามารถในการรับรู้
ระดับการศึกษา
จิตใจ
ภายนอก
สภาพสังคมของเป้าหมาย
การติดต่อบุคคลภายนอก
ความเชื่อ+ทัศนคติ
การเป็นผู้นำ
สถานภาพทางเศรษฐกิจ
สถานภาพทางกายภาพ
แหล่งข้อมูลข่าวสาร
สถานที่ตั้งของแหล่งข้อมูล
อุปกรณ์และสิ่งสนับสนุน
เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามช่องทางการสื่อสาร
การบรรยาย
การพูดคุยพบปะ
จดหมายข่าว
จดหมายสอบถาม
แผ่นโฆษณา
การสาธิต
วัตถุประสงค์
เผยเพร่หลักการเบื้องต้น
เผยแพร่ทักษะ+เทคนิค
เป้าหมายเข้าใจการทำงาน
เป้าหมายเข้าใจกระบวนการ
ข้อดี
ดึงดูดความสนใจได้
เข้าใจง่าย
เห็นได้จริง
สอนทฤษฎีพร้อมการปฏิบัติ
ฝึกการสังเกตุ
ประเภทการสาธิต
สาธิตวิธี
สาธิตผล
ขั้นตอนการสาธิต
ขั้นเตรียมการ
กำหนดวัตถุประสงค์+เนื้อหา
เตรียมวัสดุ+อุปกรณ์
เตรียมสถานที่
ทดลองก่อนสาธิต
เตรียมบุคคลเป้าหมาย
ขั้นดำเนินการ
ขั้นประเมินผล
การจัดทัศนศึกษา
เทคนิคและวิธีการสื่อสารตามวิธีการ
การพิจารณาเลือกสื่อ
ต้องเข้าใจชนิดของสารที่เหมาะกับสื่อ
พิจารณาจากวัตถุประสงค์ของผู้ส่ง
งบประมาณ+ค่าใช้จ่าย
ระยะเวลา
ขนาด/ปริมาณ/ความหนาแน่น
ความรู้ของเป้าหมาย
ประเภทและลักษณะของสาร
วิธีการ
ชนิด
คุณลักษณะของสื่อ
สื่อกับการพัฒนาตนเอง
เทคนิค วิธีการใช้ช่องทาง หรือสื่อเพื่อให้เข้าถึงเป้าหมายของการเรียนรู้
เป้าหมายได้ความรู้
เป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลง
เป้าหมายเกิดทักษะในการปฏิบัติ
คุณลักษณะของสื่อ
สื่อสารสามารถยึดประสบการณ์มาเป็นความรู้ได้
สื่อสามารถทำเรื่องยากให้เป็นเรื่องง่าย
สามารถเผยแพร่ได้มาก