Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมเเละการพัฒนา การเกษตร -…
หน่วยที่ 3 กระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมเเละการพัฒนา การเกษตร
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย
รัฐบาลเเละส่วน ราชการ
นโยบายของ ส่วนราชการ
นโยบายของ รัฐบาล
ตามเเผนพัฒนา เศรษฐกิจเเละสังคม เเห่งชาติ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10
ตามบทบัญญัติ ของกฏหมาย
นโยบายของรัฐธรรมนูญ เเห่งราชอาณาจักรไทย
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งเเวดล้อม
นโยบายของกฏหมายที่ เกี่ยวข้องกับการเกษตร
เกษตรกร สถาบันเกษตรกร
การผลิต การจัดการสินค้าเกษตร ความมั่นคงอาหาร
ทรัพยากรการเกษตร
แผนพัฒนาการเกษตร
เเนวคิดเกี่ยวกับนโยบายการ บริหาร
เเนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบาย
ความหมายของนโยบาย
ความสำคัญของนโยบาย สาธารณะ
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบายสาธารณะ
ประโยชน์ของนโยบาย สาธารณะ
กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน
แก้ไขปัญหาสาธารณะ
สร้างความเป็นธรรมและเสมอภาค
กระบวนการหรือขั้นตอน บริหารนโยบายสาธารณะ
กำหนดนโยบาย
นำนโยบายไปปฏิบัติ
ประเมินผลนโยบาย
ผู้มีหน้าที่เเละผู้เกี่ยวข้องกับนโยบาย
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน นโยบายสาธารณะ
กลุ่มผลประโยชน์
พรรคการเมือง
ประชาสังคม
ประชาชน
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายนิติบัญัติ
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายตุลาการ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
สภาพเเวดล้อมภายใน ประเทศ
การเมือง
เศรษฐกิจ
สังคม
วัฒนธรรม
การบริหาร
สภาพเเวดล้อมภายนอก ประเทศ
การเมืองระดับโลก
เศรษฐกิจ
สังคม
เทคโนโลยี
ขั้นตอนของกระบวนการ นโยบายในการบริหารงาน
การนำนโยบายไป ปฏิบัติ
กระบวนการนำไปปฏิบัติ
โครงสร้างการจัดองค์กร
กระบวนการบริหารงาน
ปัจจัยเเห่งความสำเร็จในการนำนโยบาย ไปปฏิบัติ
โครงสร้างการจัดองค์กร
กระบวนการบริหารงาน
สภาพแวดล้อม
การประเมินนโยบาย
วัตถุประสงค์
ขั้นตอน
ตรวจสอบปัจจัยพื้นฐาน
เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่คาดหวัง กับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
ความสำคัญ
ผู้ประเมินนโยบาย
ผู้ปฏิบัติงาน
ผู้ประเมินภายในองค์การซึ่งมีความ เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ผู้ประเมินภายนอกองค์การ
ผู้ประเมินที่ได้รับมอบหมาย
การกำหนดนโยบาย
การวิเคราะห์ทางเลือกเเละ การตัดสินใจ
ตามทฤษฏีหลักเหตุผล
ตามทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงในส่วนเพิ่ม
ตามทฤษฎีการผสมผสานระหว่าง ทางกว้างและทางลึก
การก่อตัวของประเด็นสาธารณะ
ปัญหาพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
ปัญหาที่เกิดขึ้นทุกปี เเละเกิดขึ้นในระยะเวลาเป็นช่วงๆ
ปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่เเละ กระทบอย่างกว้างขวาง
เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
เป็นระเบียบวาระของชาติ
ได้ข้อมูลจากการศึกษาวิจัย
การนิยามหรือการระบุ ประเด็นปัญหา
อะไรคือปัญหา
ใครมีปัญหา
รูปแบบในการแก้ไขปัญหา
การกำหนดวัตถุประสงค์
Specific
Measurable
Attainable
Result-oriented
Time-limited