Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วย เตียง 6 Diagnosis : ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure :…
ผู้ป่วย เตียง 6 Diagnosis : ภาวะหัวใจล้มเหลว (Congestive Heart Failure : CHF)
นศพต.จุฑารัตน์ จันทรบุตร
ข้อมูลผู้ป่วย
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ85ปี รู้สึกตัวเมื่อเรียก On TT Tube with collar mask 3LPM มีเสมหะเหนียวข้น มีแผลบริเวณ Tracheostomy มีแผล Bed Sore บริเวณ L1 ผู้ป่วย On NG Tube feed สูตร BD2:1(200mlx4feed)
-
-
-
-
-
-
สรุปปัญหาทางการพยาบาล
-
-
-
-
-
-
-
ยาที่ผู้ป่วยได้รับ
-
-
-
-
-
-
-
พยาธิสรีรวิทยา
พยาธิสรีรวิทยาของโรค CHF
ความหมาย
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้เพียงพอกับความต้องการในการเผาผลาญหรือเป็นภาวะที่หัวใจไม่สามารถบีบตัวส่งเลือดให้เพียงพอกับความต้องการใช้ออกซิเจนเป็นภาวะที่หัวใจล้มเหลวโดยมีการคั่งของน้ำในร่างกายภาวะแทรกซอนที่สำคัญคือการมีความดันในปอดสูงของเหลวทั้งในปอดและร่างกาย
สาเหตุ
หัวใจล้มเหลวอาจมีสาเหตุมาจากหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยงความดันโลหิตสูงความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจเช่น myocarditis ความผิดปกติของลิ้นหัวใจตีบรั่วหรือภาวะหัวใจทำงานหนักขึ้นในกรณีที่มีปริมาตรของเหลวในระบบไหลเวียนเพิ่มขึ้นเป็นต้น
แบ่งเป็น หัวใจข้างช้ายล้มเหลว (Left-sided heart failure) และหัวใจข้างขวาล้มเหลว (Right-sided heart failure)
หัวใจข้างช้ายล้มเหลว เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างชายบีบตัวลดลงส่วนใหญ่เกิดจากภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย ทำให้เนี้อเยื่อของร่างกายได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวลดลง จะทำให้ปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง จะส่งผลให้เลือดเหลือค้างในหัวใจห้องล่างช้ายมากขึ้น ความดันเลือดในหัวใจห้องล่างซ้ายจึงสูงขึ้น ดังนั้นหัวใจห้องบนซ้ายจึงบีบเลือดส่งมายังหัวใจห้องล่างช้ายน้อยลง ปริมาตรเลือดและความดันเลือดในหัวใจห้องบนซ้ายจึงสูงขึ้นเรื่อย ๆ เลือดจากปอดที่ฟอกแล้วก็จะไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนชายได้น้อยลง เป็นผลให้ความดันเลือดในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้น เมื่อแรงดันของของเหลวในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้น ทำให้ของเหลวออกจากหลอดเลือดฝอยที่ปอดเข้าสู่ถุงลม ทำให้ผู้ป่วยมีภาวะน้ำท่วมปอด หอบเหนื่อย ไอ และเขียว
หัวใจข้างขวาล้มเหลว เกิดจากกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาไม่สามารถสูบฉีดเลือดไปฟอกที่ปอดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมักเกิดจากแรงดันในหลอดเลือดฝอยที่ปอดสูงขึ้นและกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างขวาตาย ภาวะหัวใจข้างขวาล้มเหลวมักเกิดภายหลังจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว เมื่อหัวใจห้องล่างขวาบีบตัวลดลงจะทำให้เลือดที่ส่งไปฟอกที่ปอดลดลง และเลือดจากปอดจะส่งไปยังหัวใจห้องล่างช้ายลดน้อยลง ส่งผลให้ปริมาตรเลือดที่หัวใจบีบออกไปเลี้ยงร่างกายลดลงด้วย ผู้ป่วยจะมีอาการผิดปกติทั้งในระบบหัวใจและหลอดเลือด สมอง กล้ามเนื้อ และระบบปัสสาวะ เช่นเดียวกับหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว เมื่อหัวใจห้องล่างขวาบีบตัวลดลง ทำให้ปริมาตรเลือดค้างในหัวใจห้องล่างขวามากขึ้น ส่งผลให้ความดันในหัวใจห้องล่างขวาเพิ่มขึ้น และในที่สุดจะมีผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดดำทั่วร่างกาย เนื่องจากมีภาวะน้ำคั่ง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการบวม ตับและม้ามโต ลำไส้บวมจนมีอาการจุกแน่นได้ชายโครง มีอาการเบื่ออาหาร ท้องมาน หลอดเลือดดำ ที่คอโป่งพอง และปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน (Nocturia)
การวินิจฉัยโรค
มีประวัติหอบเหนื่อย มีการเจ็บป่วยที่ชักนำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย ความดันเลือดสูง การติดเชื้อในปอด
-
-
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
Complete Blood Count
-
-
-
-
-
-