Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ไตรภูมิพระร่วง - Coggle Diagram
ไตรภูมิพระร่วง
บทที่5 ปัญจมกันฑ์(11 12)
-
-
-
-
มหาจักรพรรดิราช
-
พระเจ้าอโศกมหาราช
เดิมเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่โหดร้าย แต่หลังจากที่พระองค์หันมานับถือพระพุทธศาสนา พระองค์ก็ทรงกลายเป็นผู้อุปถัมภ์บำรุงพระพุทธศาสนา ให้มีความเจริญรุ่งเรือง
เป็นผู้ได้รับบุญมาก เคยอธิษฐานจิตไว้ว่าขออย่าให้ใครสามารถมาแย่งชิงสมบัติใดๆของเขาไปได้หากเขาไม่เต็มใจ และไม่มีใครแย่งสมบัติไปได้จริงๆ หลังจากนั้นก็ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์
-
-
-
-
-
-
บทที่6แดนสวรรค์ชั้นฉกามาพจร(4,15)
-
-
-
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
-
เขาพระสุเมรุเป็นจุดสูงที่สุดที่ยังเชื่อมอยู่กับมนุสสภูมิหรือโลกมนุษย์อาณาบริเวณโดยรอบ 80,000 ตารางโยชน์
-
-
สวรรค์ชั้นดุสิต
-
จากยอดเขาสิเนรุบนสวรรค์จะไม่มีดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ทำให้ไม่มีเงา ไม่มีมุมมืดบนสวรรค์ อยู่ได้ด้วยความสว่างจากวัตถุสิ่งของต่างๆจึงไม่ต้องอาศัยดวงอาทิตย์
-
-
-
-
ปฐมกัณฑ์ นรกภูมิ(๑๐.๑๔)
แดนนรก
-
-
-
เหตุที่ทำให้สัตว์ทั้งหลายมีใจร้ายและทำให้สัตว์ทั้งหลายไปเกิดในอบายภูมิ ๔ นั้น มีอยู่ ๓ ประการ(๑๐.๑๔)
-
-
-
-
-
นรกบ่าว
-
นรกบ่าว ๑๖ ขุมอยู่ล้อมรอบสัญชีพนรก มีนรกเล็กต่าง ๆ เป็นบริวารมีจำนวนมากจนไม่สามารถจะบรรยายได้ทั้งหมด
นรกใหญ่
-
นรกใหญ่มี ๘ขุม
-
-
-
-นรกขุมที่๑ ชื่อว่าสัญชีพ
-นรกขุมที่๒ ชื่อว่ากาหสุตตะ
-นรกขุมที่๓ ชื่อว่าสังฆาฏะ
-นรกขุมที่๔ ชื่อโรรุวะ
-นรกขุมที่๕ ชื่อมหาโรรุวะ
-นรกขุมที่๖ ชื่อว่าตาปะ
-นรกขุมที่๗ ชื่อมหาตาปะ
-นรกขุมที่๘ ชื่ออวีจี
เมืองพระยายมราช
-
ผู้ใดทำบาป เทพยดาจะอ่านบัญชีแผ่นหนังหมา ยมบาลจะนำตัวผู้นั้นไปลงโทษ และตกนรกขุมใดตามแต่บาปหนักหรือเบา
-
-
-
มหาอเวจีนรก
เมื่อถึง ๑๐๐ ปี ถึมีเทวดาองค์หนึ่งนำผ้าทิพย์ ที่บางราวควันไฟมา กวาดภูเขา เทพยดากวาดภูเขาให้เรียบลงเป็นแผ่นดินก็สิ้นกัลป์หนึ่ง
-
-
โลกัณตนรก
โลกันตนรกตั้งอยู่ระหว่างจักรวาลทั้ง ๓ เหมือนนำบาตร ๓ ใบมาวางคว่ำไว้ให้ชิดกัน ช่องว่างระหว่างบาตรนั้นคือที่ตั้งของโลกันตนรก
-
ผู้ใดประทุษร้ายบิดามารดา นักบวช ครูอาจารย์ ผู้มีศีล และยุยงสงฆ์ให้แตกกัน เมื่อตายไปก็จะเกิดในโลกันตนรก
-สัตว์ในนรกนี้ร่างกายสูงใหญ่
-เล็บมือเล็บเท้าเกาะที่ใดก็จะติดกับที่นั่น
-สัตว์นรกมีความหิวเมื่อถูกกัน และกันคิดว่าเป็นอาหารก็กัดกินกัน จนตกลงในน้ำ
-พอตกร่างกายก็เหมือนก้อนอุจจาระตกลงในน้ำ
-เมื่อสัตว์นรกนี้ตายก็จะเกิดใหม่
นวมกัณฑ์ อวิโภครูป (๙,๑๖) :pencil2:
อนิจลักษณะ :!:
สภาวะที่ไม่เที่ยง หมายถึง ลักษณะที่เป็นสาธารณะแก่สังขารธรรมทั้งปวงจิตเจตสิก รูป เป็นอนิจจัง คือ มีการเกิดขึ้นและดับไป
-
-
-
-
ความเป็นมา(17,18)
ไตรภูมิกภาหรือไตรภูมิพระร่วงเป็นวรรณกรรมสุโขทัย เป็นพระราชนิพนธ์ของพระมหาธรรมราชาลิไท แต่งขึ้นในปี พ.ศ. ๑๘๘๘ ในขณะที่ทรงดำรงตำแหน่งเป็นพระมหาอุปราช
-
-
-
เอกาทสมกัณฑ์ นิพานภูมิ (3,8)
-
เป็นดินเเดนสูงสุดของพระพุทธศาสนาเเละเป็นดินเเดนเเห่งพระอรหันต์หรือพระพุทธเจ้าเเละเป็นเป้าหมายสูงสุดเเละเป็นดินเเดนที่เหนือไตรภูมิทุกไตรภูมิเป็นดินเเดนเเห่งการดับสนิทของกิเลสทั้งปวง นิพานมี ๓ชื่อ คือ สุญญตนิพาน-ดับโดยสูญไป
อัปปณิหิตนิพพาน-ดับโดยไม่มีที่ตั้งเเห่งทุกข์
ทุกข์ อนิมิตนิพพาน-ดับโดยไม่มีเครื่องหมาย
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเรานั้น เมื่อคราวสเด็จนิพพานนั้นทรงบรรลุนิพาน๓อย่าง คือ กิเลสนิพพาน ดับกิเลส , ขับธนิพพาน ดับขันธ์ , ธาตุนิพพาน ดับธาตุ
-
-
-
บทนำ (5,20)
แบ่งเป็น 3 ภูมิ
กามภูมิ
มี 2 ภูมิ ย่อยๆ
-
2.สุคติภูมิ ภพคน/เทวดา มี 7 ชั้น
-มนุสสาภูมิ
-จาตุมาาหาราชิกาภูมิ
-ตาวติงสภูมิ
-ยามาภูมิ
-ตสิตาภูมิ
-นิมมานนรดีภูมิ
-ปรนิมิตวสวัติภูมิ
-
-
-
จตุรบายภูมิ(19,6)
ทุติยกัณฑ์-ติรัจฉานภูมิ
-
- สัตว์ที่สูงกว่าสัตว์ติรัจฉานทั่วไป
ราชสีห์ (4ตระกูล)
ติณสีหะ
- มีรูปประพรรณสัณฐานเหมือนวัว
-
-
-
-
ไกรสรสีหะ
- ปาก เท้า ท้อง กลางหลัง สีแดง
-
-
-
-