Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การค้าและการเงินระหว่างประเทศ, นางสาวปัทมา แก้วผ่อง เลขที่1 กลุ่มเรียน…
การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
International Trade
เป็นการศึกษาที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจกรรมที่มีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างประเทศ
สาเหตุที่ต้องมีการค้าระหว่างประเทศ
การขาดวัตถุดิบในประเทศ
การเปลี่ยนแปลงจำนวนของพลเมือง
การเลียนแบบในการบริโภค
การเคลื่อนย้ายของอุตสาหกรรม
ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
เกิดความชำนาญในการผลิตสินค้า
มีสินค้าในการบริโภคมากขึ้น
เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี/วิทยาการใหม่ๆ
ทำให้เกิดการกระจายรายได้
เกิดตลาดสินค้าใหม่ๆมากขึ้น
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
1.นโยบายการค้าเสรี Free Trade Pollcy
การดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจยึดตามหลักการแบ่งงานกันทำ
ไม่มีการเก็บภาษีอากรเพื่อคุ้มกัน การเก็บภาษีเพื่อเป็นรายได้ของรัฐเท่านั้น
ไม่มีการให้สิทธิพิเศษหรือเลือกปฏิบัติต่อสินค้าประเทศหนึ่งประเทศ
จะต้องไม่มีข้อจำกัดอื่นๆทางการค้า
2.นโยบายการค้าคุ้มกัน
Protective Trade Pollcy
ด้านเศรษฐกิจ
มีหลักการตรงกันข้ามกับนโยบายการค้าเสรีและรัฐบาลจะมีหน้าที่ที่จะต้องเข้าไปแทรกแซงการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพื่อคุ้มครองเศรษฐกิจของประเทศ
ด้านรายได้ของรัฐ
ด้านสังคม
ด้านการเมือง
เครื่องมือที่ใช้
1.การตั้งกำแพงภาษี
Tarff Wall
2.การควบคุมจำนวนสินค้าหรือกำหนดโควต้า Quota
3.การอุดหนุน
Subsidies
4.การทุ่มตลาด
Dumping
5.ข้อตกลงทางการค้า
FTA
การเงินระหว่างประเทศ
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
เป็นการศึกษาถึงมูลค่าราคาของสกุลเงิน โดยเป็นการเปรียบเทียบค่าเงินตราของประเทศสกุลหนึ่ง
อัตราแลกเปลี่ยน
อัตราทางการ
Official Rate
อัตราตลาด
Market Rate
อัตราตลาดมืด
Black Market Rate
ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ขึ้นลงอย่างเสรีหรือแบบลอยตัว
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ถูกกำหนดให้คงที่
ระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่ถูกควบคุม
ดุลการค้าระหว่างประเทศ
ดุลการค้าสมดุล
มูลค่าสินค้าส่งออก > มูลค่าสินค้านำเข้า
ดุลการค้าขาดดุล
มูลค่าสินค้าส่งออก < มูลค่าสินค้านำเข้า
ดุลการค้าเกินดุล
มูลค่าสินค้าส่งออก = มูลค่าสินค้านำเข้า
ดุลการชำระเงิน
เป็นบันทึกกิจกรรมการแลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจในการซื้อขายแลกเปลี่ยนตลอดจนกิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่นๆที่เกิดขึ้นระหว่างผู้พำนักอาศัยของประเทศหนึ่งกับผู้พำนักอาศัยในประเทศอื่นทั่วโลก
1.เพื่อพิจารณารายรับและรายจ่ายเงินตราต่างประเทศ
2.ใช้เป็นข้อมูลในการพิจารณาเพื่อวางนโยบายการเงินและนโยบายการคลังรัฐ
รายการในการดุลชำระเงิน
1.บัญชีเดินสะพัด
สินค้า/บริกา
2.บัญชีเงินโอนเงินหรือเงินบริจาค
3.บัญชีทุนเคลื่อนย้าย
4.บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ/ทุนสำรองเงินตรา
ความสัมพันธ์ระหว่างดุลการชำระกับทุนสำรอง
ใช้เป็นทุนสำรองเงินตราในการผลิตธนบัตรใหม่
ใช้เป็นทุนรักษาระดับอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
ใช้เป็นทุนหมุนเวียนสำหรับชำระหนี้ให้กับต่างประเทศ
ความแตกต่างระหว่างดุลการค้ากับดุลการชำระ
1.ดุลการค้าจะแสดงเฉพาะรายการที่มองเห็นเท่านั้น
2.ดุลการค้าจะมียอดทางบัญชีไม่เท่ากัน
การลงทุนระหว่างประเทศ
เป็นตัวเลขที่เกี่ยวกับการที่รัฐ/เอกชนของประเทศหนึ่งนำเงินไปลงทุน/ไปดำเนินธุรกิจเพื่อแสวงผลกำไรอีกประเทศหนึ่ง
1.การลงทุนทางตรง/การลงทุนที่แท้จริง เป็นการลงทุนที่ก่อให้เกิดการผลิตสินค้า/บริการ การจ้างงานก่อให้เกิดศักยภาพในการแข่งขัน
2.การลงทุนทางอ้อม/การลงทุนทางการเงิน เป็นการลงทุนที่ผู้ลงทุนไม่ได้เข้ามามีส่วนดำเนินกิจการโดยตรงเป็นการลงทุนที่ไม่ก่อให้เกิดการผลิต
นางสาวปัทมา แก้วผ่อง เลขที่1 กลุ่มเรียน 61012.151