Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่7 หลักกฏหมายประกันสังคม - Coggle Diagram
หน่วยที่7 หลักกฏหมายประกันสังคม
วัตถุประสงค์และขอบเขตการใช้พระราชบัญญัติ
ประกันสังคม
1 จัดตั้งกองทุนประกันสังคมขึ้น 2. เพื่อเป็นหลักประกันแก่บุคคลผู้เป็นผู้จ้าง 3. ใช้กองทุนเป็นหลักประกันให้แก่ลูกจ้าง 3. เหตุที่ลูกจ้างหรือผู้รับประกันตนจะได้รับประโยชน์ทดแทนจากกองทุนก็ต่อเมื่อลูกจ้าง
ขอบเขตการใช้พระราชบัญญัติประกันสังคม 1. ข้าราชการลูกจ้างประจำลูกจ้างชั่วคราวรายวัน 2. ลูกจ้างของรัฐบาลต่างประเทศลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศ 1. ครูหรือครูใหญ่ของโรงเรียนเอกชน 5. นักเรียนนิสิตหรือนักนึกษาซึ่งเป็นลูกจ้างของโรงเรียนมหาวิทยาลัย 6. กิจการหรือลูกจ้างอื่นตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา 1. ลูกจ้างของนายจ้างที่เป็นบุคลธรรมดา 8. ลูกจ้างในกิจการค่าแร่และแผงลอย 9. ลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับงานบ้านอันมิได้มีการประกอบธุรกิจ
สำนักงานประกันสังคมแบะกองทุนประกันสังคม
1สำนักงานประกันสังคมสำนักงานประกันสังคมตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 กำหนดให้มีสำนักงานประกันสังคมขึ้นในกระทรวงแรงงานและให้มีหน้าที่
1 ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการคณะกรรมการอื่นและคณะอนุกรรมการตามพระราชบัญญัตินี้
2 เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประกันสังคม
จัดทำทะเบียนนายจ้างและผู้ประกันตนซึ่งต้องส่งเงินสมทบเข้ากองทุน
ปฏิบัติการตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจหน้าที่ของส่วนกะรน
กระทำกิจการอย่างอื่นตามที่รัฐมนตรีคณะกรรมการคณะกรรมการอื่นหรือคณะอนุกรรมการมอบหมาย
2กองทุนประกันสังคมกองทุนประกันสังคมตั้งอยู่ในสำนักงานประกันสังคมกระทรวงแรงงานเพื่อเป็นทุนไว้ใช้จ่ายให้กับผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์ทดแทนตามพระราชบัญญัตินี้และเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักงานประกันสังคม
ผู้ประกันต้น
1 )ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 คือเป็นประเภทอยู่ในระบบที่ลูกจ้างต้องเป็นผู้ประกันตนเองซึ่งผู้รับผิดชอบจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนจะประกอบด้วย 3 ฝ่าย ได้แก่ รัฐบาลนายจ้างและลูกจ้าง (ผู้ประกันตน) ที่น่าสังเกตคือฝ่ายนายจ้างแม้ต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเท่ากับลูกจ้างก็ไม่เรียกนายจ้างว่าเป็นผู้ประกันตน
2 ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ผู้ประกันตนประเภทนี้เคยเป็นลูกจ้างและเป็นผู้ประกันตนมาก่อนแล้วต่อมาได้สิ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้างจะด้วยเพราะการลาออกจากการเป็นลูกจ้างหรือด้วยเหตุใดก็ตาม (เว้นแต่การตาย) เมื่อพ้นจากการเป็นลูกจ้าง
3 ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ผู้ประกันตนประเภทนี้คือบุคคลที่มิใช่ลูกจ้างตามที่กล่าวมาแล้ว แต่เป็นบุคคลทั่วๆไปมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์มีความประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนก็สามารถสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนได้
การขึ้นทะเบียนประกันตน
2 หน้าที่ของผู้ประกันตนหรือลูกจ้างต้องจ่ายเงินสมทบโดยนายจ้างเป็นผู้หักจากค่าจ้างรายเดือนนำส่งให้สำนักงานประกันสังคมทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้างหรือค่าจ้างรายเดือน 2. ผู้ประกันตนต้องมีบัตรประกันสังคมที่ได้รับจากสำนักงานประกันสังคมหรือมีบัตรประจำตัวประชาชนเพื่อแสดงต่อสถานพยาบาลเมื่อต้องการรักษาพยาบาลเพราะเจ็บป่วยและให้พนักงานประกันสังคมตรวจสอบได้
หน้าที่ของนายจ้างนายจ้างซึ่งมีลูกจ้างโคนขึ้นไป 2. ให้นายจ้างหักเงินของลูกจ้างทุกครั้งที่มีการตามจำนวน 3 ถ้านายจ้างไม่ส่งเงินสมทบในส่วนขอวตน 1. นายจ้างต้องจัดให้มีทะเบียนของผู้ประกันตน
เงินสมทบ
เงินสมทบคือเงินที่ผู้ประกันตนต้องส่งเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นประจำทุกเดือนตามอัตราร้อยละจากฐานเงินเดือนของผู้ประกันตนซึ่งกำหนดจากฐานเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูงเป็นฐานในการคำนวณ แต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมทบที่กำหนดไว้ท้ายพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับนี้
ประโยชน์ทดแทน
คำว่าประโยชน์ทดแทนหมายถึงประโยชน์ที่ผู้ประกันตนจะได้รับประโยชน์ทดแทนเป็นเงินจากกองทุนประกันสังคมประโยชน์ทดแทนมีโกรณีตามที่กล่าวมาแล้วอาจแยกได้เป็น 3 กลุ่มคือกากลุ่มที่มีประโยชน์ทดแทนฯ กรณี. ประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน 2. ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน 3. ประโยชน์ทดแทนกรณีตายอันมิใช่เนื่องจากการทำงาน 1. ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตรกลุ่มที่ 2 มีประโยชน์ทดแทน 2 กรณี 1. ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร 2. ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพกลุ่มที่ 3 มีประโยชน์ทดแทนกรณี
เงินทดแทน
กองทุนเงินทดแทนพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 กำหนดให้มีกองทุนเงินทดแทนขึ้นโดยอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักงานประกันสังคมเป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นทุนในการจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างเมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตายหรือสูญหายเนื่องจากการทำงานให้นายจ้างโดยนายจ้างเป็นผู้มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเพียงฝ่ายเดียวเมื่อนายจ้างขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทนแล้วลูกจ้างทุกคนที่ทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับการคุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทนทันทีเมื่อประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตายหรือสูญหายเนื่องจากการทำงานให้นายจ้างลูกจ้างจะได้รับค่ารักษาพยาบาลค่าทดแทนรายเดือน (กรณีหยุดงานกรณีสูญเสียอวัยวะหรือสมรรถภาพของอวัยวะกรณีทุพพลภาพและกรณีตาย) ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพในการทำงานและค่าทำศพดังนี้มาตรา 38 วรรคท้ายพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 มาตรา 39 วรรคท้ายพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 25
สิทธิของผู้ประกันตนในระบบหลังสิ้นสภาพ
การเป้นผู้ประกันตัว
สภาพกรณีผู้ประกันตนตามมาตรา]. มีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนจากกรณีประสบอันตรายกรณีเจ็บป่วยคลอดบุตรและกรณีตายต่อไปอีก 6 เดือนนับ แต่วันสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง 2. มีสิทธิสมัครเป็นผู้ประกันตนต่อไปได้หากประสงค์โดยแสดงความจำนงต่อสำนักงานประกันสังคมภายในกำหนด 6 เดือนนับ แต่วันสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน 26