Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 หลักกฎหมายประกันสังคม, 2เพื่อเป็นหลักประกันแก่บุคคลผู้เป็นลูกจ้…
หน่วยที่ 7 หลักกฎหมายประกันสังคม
วัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติ
กฎหมายประกันสังคมที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันคือพระราชบัญญัติประกันสังคมประกันสังคมฉบับนี้ก็เพื่อ
1 จัดตั้งกองทุนประกันสังคมขึ้นโดยให้นายจ้างพร้อมด้วยลูกจ้างคือผู้ประกันตนและรัฐบาลรวม 3 ฝ่ายร่วมกันออกเงินกองทุนประกันสังคม
สํานักงานประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม
1 สำนักงานประกันสังคม
สํานักงานประกันสังคมตามพระราชบัญญัติประกันสังคมกำหนดให้มีพนักงานประกันสังคมขึ้นในกระทรวงแรงงาน
2กองทุนประกันสังคม
กองทุนประกันสังคมตั้งอยู่ในสถานการณ์ทางสังคมกระทรวงแรงงานเพื่อเป็นทุนไว้ใช้จ่ายให้กับผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์ทดแทน
ผู้ประกันตน
คือลูกจ้างที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคม
1 ผู้ประกันตนตามมาตรา 33
คือเป็นประเภทอยู่ในระบบที่ลูกจ้างต้องเป็นผู้ประกันคนเสมอซึ่งผู้รับผิดชอบจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุน
2 ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 เป็นผู้ประกันตนประเภทนี้เคยเป็นลูกจ้างหรือเป็นผู้ประกันตนมาก่อนแล้ว
3 ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ผู้ประกันตนประเภทนี้คือบุคคลที่มิใช่ลูกจ้างตามที่กล่าวมาแล้วแต่เป็นบุคคลทั่วไปมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์
การขึ้นทะเบียนประกันตน
1 หน้าที่ของนายจ้าง
2 หน้าที่ของผู้ประกันตนหรือลูกจ้าง
เงินสมบทคือเงินที่ผู้ประกันตนต้องส่งเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นประจำทุกเดือนตามมาตราร้อยละจากฐานเงินเดือนของผู้ประกันตนซึ่งกำหนดจากฐานเงินเดือนขั้นต่ำและขั้นสูงเป็นฐานคำนวณ
ประโยชน์ทดแทน
เมื่อลูกจ้างได้สมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมแล้วลูกจ้างในฐานะผู้ประกันตนมีสิทธิ์จะได้รับประโยชน์ทดแทน
สิทธิ์ของผู้ประกันตนในระบบหลังสิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน ในกรณีประกันตนตามมาตราใด 3 หรือผู้ประกันตนในระบบได้ส่งเงินสมทบครบถ้วนตามหลักเกณฑ์และเงื่อนเวลาจนก่อให้เกิดมีสิทธิ์ได้รับประโยชน์ทดแทนตามหลักเกณฑ์
เงินทดแทน
ในการทำงานลูกจ้างอาจต้องทำงานในสภาพแวดล้อมที่ก่อให้เกิดอันตรายหรือก่อให้เกิดการเจ็บป่วยได้ตลอดเวลา
2 กรณีสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพร่างกาย
3กรณีทุพพลภาพ
1กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
4 กรณีตายหรือสูญหาย
ขอบเขตการใช้พระราชบัญญัติประกันสังคม
เวลาจะบัญญัติประกันสังคมฉบับนี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบัน ให้ทันสมัยและเหมาะกับสภาพสังคมเรื่อยมา
1.ข้าราชการลูกจ้างประจำลูกจ้างชั่วคราวรายวันและลูกจ้างชั่วคราวรายชั่วโมงของราชการส่วนกลางราชการ
2 ลูกจ้างของรัฐบาลต่างประเทศหรือองค์การระหว่างประเทศ
3 ลูกจ้างของนายจ้างที่มีสำนักงานในประเทศและไปประจำทำงานในต่างประเทศ
4 ครูหรือครูใหญ่ของโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชน
5นักเรียนนักเรียนพยาบาลหรือนักศึกษาหรือเพศฝึกหัด
6 กิจการหรือลูกจ้างอื่นตามที่กำหนดในพระราชสำนักฎีกา
7 ลูกจ้างของนายจ้างที่เป็นบุคคลธรรมดา
8 ลูกจ้างในกิจการค้าเร่และแผงลอย
9 ลูกจ้างซึ่งทำงานเกี่ยวกับงานบ้าน
2เพื่อเป็นหลักประกันแก่บุคคลผู้เป็นลูกจ้าง
3 ใช้กองทุนเป็นหลักประกันให้แก่ลูกจ้างคือผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทน
4เหตุที่ลูกจ้างหรือผู้ประกันตนจะได้รับประโยชน์ทดแทนจากองค์กร