Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 หลักกฎหมายประกันสังคม - Coggle Diagram
หน่วยที่ 7 หลักกฎหมายประกันสังคม
1วัตถุประสงค์และขอบเขตการใช้พระราชบัญญัติประกันสังคม
กฎหมายประกันสังคมที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันคือพระราชบัญญัติประกันสังคมพ. ศ. 2533 วัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับนี้ก็เพื่อจัดตั้ดกองทุุน
1ประกันสังคมขึ้น
2 เพื่อเป็นหลักประกันแก่บุคคลผู้เป็นลูกจ้าง
3 ใช้กองทุนเป็นหลักประกันให้แก่ลูกจ้าง
4 เหตุที่ลูกจ้างหรือผู้ประกันตนจะได้ประโยชน์ทดแทนจากกองทุนก็ต่อเมื่อลูกจ้างหรือผู้ประกันประสบอันตรายเจ็บป่วยด้วย
ขอบเขตการใช้พระราชบัญญัติประกันสังคม
พระราชบัญญัติประกันสังคมพ. ศ. 2533 ฉบับนี้ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติมจนถึงปัจจุบันเป็นฉบับที่ 4 พ.ศ 2558 ให้ทันสมัยและเหมาะกับสภาพสังคมเลยมาขอบเขตการใช้บังคับแก่ผู้ประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไปโดยทั้งนายจ้างและลูกจ้างต้องขึ้นทะเบียนกับพนักงานประกันสังคมคำว่าลูกจ้างมีความหมายเช่นเดียวกับกฎหมายคุ้มครองแรงงานที่ได้ศึกษามาแล้วคือความหมายผู้ซึ่งทำให้นายจ้างโดยได้รับค่าจ้างไม่ว่าจะเรียกชื่ออย่างไร
สํานักงานประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม
1 สำนักงานประกันสังคม
1 ปฏิบัติงานธุรการของคณะกรรมการ
2 จุดรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับประกันสังคม
3 จัดทะเบียนนายจ้างและผู้ประกันตนซึ่งต้องส่งเงินสมทบเข้ากอง
4ปฏิบัติการตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้เป็นอำนาจหน้าที่ของสำนักงาน
5 กระทำกิจการอย่างอื่นตามที่รัฐมนตรีคณะกรรมการคณะกรรมการอื่นๆหรือคณะอนุการมอบหมาย
2 กองทุนประกันสังคม
กองทุนประกันสังคมตั้งอยู่ในสำนักประกันสังคมกระทรวงแรงงานเพื่อเป็นทุนไว้ใช้จ่ายให้กับผู้ประกันตนที่ได้รับประโยชน์ทดแทนตามพระราชบัญญัตินี้และเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของสำนักงานประกันสังคม
เงินสมทบ
เงินสมทบคืนเงินผู้ประกันตนต้องส่งเข้ากองทุนประกันสังคมเป็นประจำทุกเดือนตามอัตราร้อยละจากฐานเงินเดือนของผู้ประกันตนซึ่งกำหนดจากฐานเงินเดือนขั้นต่ำและชั้นสูงเป็นฐานในการคำนวณแต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมทบที่กำหนดไว้ท้ายพระราชบัญญัติประกันสังคมฉบับที่ 33 คือผู้ประกันตนในระบบให้รัฐบาลนายจ้างและผู้ประกันตนลูกจ้างรวม 3 ฝ่ายออกเงินสมทบเท่ากันสำหรับประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยกรณีชราภาพกรณีตายและกรณีคลอดบุตรรวม 4 กรณีส่วนประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตรกรณีชราภาพและกรณีว่างงานรวม 3 คนเป็นอัตราเงินสมทบให้ออกตามที่กำหนดในกฎหมายกระทรวงแต่ต้องไม่เกินอัตราเงินสมทบท้ายพระราชดํารัส ซึ่งใน 3 กรณีหลักนี้ฝ่ายรัฐบาลจะออกเป็นส่วนน้อยกว่าผู้ประกันตนและเงินสมทบประกันตนทั้งหมด 3 ประเภทมีอัตราไม่เท่ากันขึ้นอยู่กับประเภทของผู้ประกันตนดังนี้
ประเภทที่ 1 ผู้ประกันตนตามมาตรา 33
ประเภทที่ 2 ผู้ประกันตนตามมาตรา 39
ประเภทที่ 3 ผู้ประกันตนตามมาตรา 40
ผู้ประกันตนผู้ประกันตนคือลูกจ้างที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมเพื่อให้เกิดสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนตามพระราชบัญญัตินี้ผู้ประกันตนประเภทนี้เป็นประเภทอยู่ในระบบซึ่งกฎหมายบังคับว่าต้องเป็นผู้ประกันตนจึง กระทั่งมีอายุไม่เกิน 60 ปีถ้าอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์แล้วกฎหมายจะไม่บังคับจะเป็นผู้ประกันตนหรือไม่ก็ได้
: 1 ผู้ประกันตัวตามมาตรา 33
คือประเภทอยู่ในระบบที่ลูกจ้างต้องเป็นผู้ประกันตนเสมอซึ่งผู้รับผิดชอบจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนจนประกอบด้วย 3 ฝ่ายได้แก่รัฐบาลนายจ้างและลูกจ้าง
2 ผู้ประกันตนตามมาตรา 39
ผู้ประกันตัวประเภทนี้เคยเป็นลูกจ้างและผู้ประกันตนมาก่อนแล้วต่อมาได้สิครับสิทธิภาพจากการเป็นลูกจ้างจะโดยเฉพาะการลาออกจากการเป็นลูกจ้างหรือด้วยเหตุใดก็ตามเว้นแต่การตายเมื่อพ้นจากการเป็นลูกจ้างและการพ้นสภาภาพลูกจ้างได้เป็นผู้ประกันตนส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12
3 ผู้ประกันตนตามมาตรา 40
ผู้ประกันตัวประเภทนี้คือบุคคลที่มิใช่ลูกจ้างตามที่กล่าวมาแล้วแต่เป็นบุคคลทั่วไปมีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 60 ปีบริบูรณ์มีความประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนก็สามารถสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนได้
การขึ้นทะเบียนประกันต้น
1 หน้าที่ของนายจ้าง
1 หน้าที่นายจ้างซึ่งมีลูกจ้างตั้งแต่คนขึ้นไปต้องแจ้งแบบแสดงรายการแสดงรายชื่อผู้ประกันตนอัตราค่าจ้าง
2ส่งให้นายจ้างหักเงินค่าจ้างของลูกจ้างทุกครั้งที่มีการจ่ายค่าจ้างตามจำนวนที่จะต้องนำส่งเป็นเงินสมทบในส่วนของผู้ประกันตน
3 ถ้านายจ้างไม่ส่งเงินสมทบในส่วนของต้นและในส่วนของผู้ประกันตนหรือส่งแต่ส่งไม่ครบตามจำนวนภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในข้อ 2 จะต้องจ่ายเงินเพิ่มให้สำนักงานประกันสังคมอีกในอัตราร้อยละ 2 ต่อเดือน
4 นายจ้างต้องจัดให้มีทะเบียนของผู้ประกันตนและเก็บรักษาไว้นะที่สถานที่ทำงานของนายจ้าง
2 หน้าที่ของผู้ประกันตนหรือลูกจ้าง
1 ต้องจ่ายเงินสมทบด้วยนายจ้างเป็นผู้หักจากค่าจ้างรายเดือน
2 ผู้ประกันตนต้องมีบัตรประกันสังคมที่ได้รับจากการสำนักงานประกันสังคมหรือมีบัตรประจำตัวประชาชนเพื่อแสดงต่อสถานพยาบาลเมื่อต้องการรักษาพยาบาล
ผู้ประกันตนต้องทำหนังสือระบุชื่อบุคคลที่ประสงค์จะให้
3 ผู้ประกันตนต้องทำหนังสือระบุชื่อบุคคลที่ตนประสงค์จะให้เป็นผู้รับผลประโยชน์ทดแทนต้น
เงินทดแทน
กล่องเงินทดแทนพระราชบัญญัติเงินทดแทนพ. ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พศ 2561 กำหนดให้มีกองทุนเงินทดแทนขึ้นโดยอยู่ภายใต้การดูแลของสำนักงานประกันสังคมเป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นทุนในการจ่ายเงินทดแทนให้แก่ลูกจ้างเมื่อลูกจ้างประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยหรือถึงแก่ความตายหรือสูญหายเนื่องจากการทำงานให้นายจ้างโดยนายจ้างเป็นผู้มีหน้าที่จ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนเพียงฝ่ายเดียวเมื่อนายจ้างขึ้นทะเบียนกองทุนเงินทดแทนแล้วลูกจ้างทุกคนที่ทำงานให้กับนายจ้างจะได้รับการคุ้มครองจากกองทุนเงินทดแทนทันที
หนึ่งกรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย
2 กรณีสูญเสียอวัยวะหรือสูญเสียสมรรถภาพทางร่างกาย
3 กรณีทุนทุกภาค ศศิ
4กรณีตายหรือสูญหาย
ประโยชน์ทดแทน
เมื่อลูกจ้างสมัครเข้าเป็นผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมและลูกจ้างในฐานะผู้ประกันตนมีสิทธิ์จะได้รับประโยชน์ทดแทนจากการได้เป็นผู้ประกันตนอะไรบ้างนั้นมีรายละเอียดดังนี้
กลุ่มที่ 1 มีประโยชน์ทดแทน 4 กรณี
1ประโยชน์ทดแทนกรณีประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วย
2 ประโยชน์ทดแทนกรณี ทุพพลภาพ
3 ประโยชน์ทดแทนกรณีตาย
4 ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร
กลุ่มที่ 2 มีประโยชน์ทดแทน 2 กรณี
หนึ่งประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร
2 กรณีชราภาพ
กลุ่มที่ 3 ประโยชน์ทดแทน1กรณี
ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน
สิทธิภาพของผู้ประกันตนในระบบหลักสีสภาพการเป็นผู้ประกันตน
1ได้รับประโยชน์ทดแทนจากกรณีประสบอันตราย
2 มีสิทธิ์สมัครเป็นผู้ประกันตนต่อไปได้หากประสงค์โดยแสดงความจำนงต่อสำนักงานประกันสังคมภายในกำหนด 6 เดือน