Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตาม กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก…
การวินิจฉัยแยกโรค การรักษาโรคเบื้องต้นตาม
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก เหนื่อยง่าย ใจสั่น
ก
ลุ่มอาการหายใจลําบาก หอบเหนื่อย (Dyspnea)
กล้ามเนื้อหัวใจตายลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดสมอง/ปอด
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอ
และแรงไม่เท่ากันตลอด
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น
เจ็บหน้าอกรุนแรง
หอบเหนื่อย
แขนขาข้างหนึ่งอ่อนแรงฉับพลัน
เป็นลมหมดสติ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
Shock
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น
ตกเลือดรุนแรง
ปวดท้องรุนแรง
อาเจียนรุนแรง
ท้องเดินรุนแรง
ถ่ายดํา
เป็นลมหน้ามืดเวลาลุกนั่งหรือยืน
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
Congestive Heart failure
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีเต้น
สม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
พบneck vein engorgement
พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น
หายใจหอบเหนื่อย
ข้อเท้าบวม หน้าแข้งกดบุ๋ม
ภาวะซีด
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้การรักษาโรคเบื้องต้น
ส่งต่อทันที
โรคลิ้นหัวใจพิการ/
โรคหัวใจรูมาติก
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอ
และแรงไม่เท่ากันตลอด
ฟังเสียงหัวใจได้ยิน
เสียง murmur
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น มีอาการเรื้อรัง
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
พิจารณาให้ยาตามความจําเป็น
ส่งต่อภายใน 24 ชั่วโมง
Hyperthyroidism
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจรเต้นไม่สม่ําเสมอและแรง
ไม่เท่ากันตลอดมากกว่า 120 ครั้งต่อนาที
มือสั่น ตาโปน ขี้ร้อน เหงื่อมากคอพอก
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น
น้ําหนักลดฮวบ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
กรณี Hyperthyroidism
มีชีพจรมากกว่า 100 ครั้ง/นาทีเต้นสม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอดส่งต่อภายใน 3 วัน
ออกกําลังกาหักโหม
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจร 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ําเสมอได้
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่นหลัง
การออกกําลังกาย
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้นั่งพัก
แนะนําการออกกําลังกายที่ถูกวิธี
วิตกกังวล
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
แนะนําของออกกําลังกาย
การผ่อนคลายความเครียด
ให้ยาคลายกังวล เช่น
Hydroxyzine (25mg.) 2 tab tid. pc +hs
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 1 สัปดาห์
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจร 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ําเสมอได้แรงเท่ากันตลอด
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น
มีเรื่องวิตกกังวล คิดมากหรือนอนไม่หลับร่วมด้วย
ฤทธิ์ข้างเคียงของสารกระตุ้น
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ชีพจร 100 ครั้งต่อนาทีเต้นสม่ําเสมอ
ได้แรงเท่ากันตลอด
การซักประวัติที่พบ
อาการใจสั่น หลังการสูบบุหรี่ดื่มเหล้าดื่มกาแฟหรือยาชูกําลังกานกินยาแก้หอบแก้หวัดหรือยาอื่นๆ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ดื่มน้ํามากๆ
หยุดยาหรือสารกระตุ้น
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 6 ชั่วโมง
กลุ่มอาการใจสั่น (Palpitation)
COPD
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
หอบ หายใจลําบากจนต้องห่อปากเวลา
หายใจออก ใช้ Accessory muscle
ในการหายใจ
ลักษณะทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็น
barrel shape
เคาะปอดเสียง hyperresonance
ฟังเสียงปอดได้เสียง wheezing
ในรายที่เป็นรุนแรงอาจไม่ได้ยินเสียงเลย
การซักประวัติที่พบ
หอบเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง ในระยะรุนแรงหอบ
เหนื่อยจนทํางานไม่ได้มีอาการหอบกําเริบเป็นๆหายๆ
ไอเรื้อรังมีเสมหะสีขาว
ประวัติสูบบุหรี่
พบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
แนะนําหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ
ดื่มน้ําอุ่นมากๆ
มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทานตามคําสั่งการรักษาของแพทย์
ในรายที่เป็นรุนแรงจําเป็นต้องใช้ยากcorticosteroid
สุดพ่นคล้ายผู้ป่วยหอบหืด
ส่งต่อทันทีถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้นใน 4-6 ชั่วโมง
มีไข้เสมหะมีหนองให้ยาปฏิชีวนะ
Acute pulmonary edema
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน(Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM/
Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ส่งต่อทันที
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ฟังปอดได้ยินเสียง fine
crepitation ชายปอดด้านล่าง
อาจพบ cyanosis
การซักประวัติที่พบ
เหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
ไอมีเสมหะปนเลือด
Pneumonitis
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
อาการหอบเหนื่อย
อาจมี cyanosis
พบ pleural friction rub
ฟังปอดได้ยินเสียง crepitation /Decreased breath sound
ไข้ ไอมีเสมหะ
การซักประวัติที่พบ
อาการหอบเหนื่อย
ปวดแบบ sharp pain
เป็นมากเมื่อหายใจเข้า-ออก
ประวัติติดเชื้อทางเดินหายใจ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน (Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM/
Mask c bagตามค่า O2 Saturation
ส่งต่อทันที
Asthma/Status
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ตรวจร่างกายตอนไม่มีอาการหอบจะไม่พบความผิดปกติ
ช่วงที่มีอาการหอบจะฟังปอดได้ยินเสียง wheezing หรือ Rhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
การซักประวัติที่พบ
หายใจลําบากหอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาว อาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
แนะนําหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamolผ่าน nebulizer ต่อกับ O2 หรือพ่นยาขยายหลอดลม DPI /MDI
ส่งต่อทันทีถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลังพ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
Congestive
Heart failure
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
นอนราบไม่ได้
พบneck veinen gorgement
พบ pitting edema หน้าแข้ง ข้อเท้า
บางรายพบ ascites
ชีพจรเบาเร็วไม่สม่ําเสมอ
ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitation
การซักประวัติที่พบ
เหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้
หอบเหนื่อยเป็นช่วงๆโดยเฉพาะกลางคืน
มีไอเป็นพักๆ
มีประวัติ HT/โรคหัวใจ/เบาหวาน
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมิน ABCs และ V/S
ให้พักผ่อน (Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM
/Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
ให้น้ําเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
ให้ยาขับปัสสาวะ/ACEI
(ตามstanding order หรือยาของผู้ป่วย)
ส่งต่อทันที
Hyperventilation
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
หายใจหอบลึก
มือจีบเกร็งทั้งสองข้าง
การซักประวัติที่พบ
หายใจหอบลึก
มีอาการหลังภาวะเครียด/มีเรื่องขัดใจ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
-
หายใจในกรวยกระดาษหรือถุงพลาสติก
แนะนําให้หายใจเข้าออกช้า ๆ
ไม่ควรให้ออกซิเจน
ส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 30 นาที
กลุ่มอาการเจ็บหน้าอก (Chest pain)
Angina
pectoris
การซักประวัติที่พบ
อาการดีขึ้นเมื่อพัก
เจ็บแน่นๆอึดอัด
กลางหน้าอก 2-3 นาที
และมักไม่เกิน 15 นาที
มีอาการเมื่อออกแรงอย่างหนัก
/มีอารมณ์เครียดหรืออากาศเย็น
ประวัติ HT, DM, DLP
ตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
อาการเจ็บหน้าอกแบบ angina pectoris
มีอาการ referred pain ไปกรามแต่ไม่เกิน emporomandibular joint ไหล่ คอและแขนและไม่ต่ํากว่าสะดือ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs และให้พักผ่อน (Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM.
ให้เคี้ยวและกลืน aspirin 325 mg
ทันทีโดยเคี้ยวและกลืน1 เม็ดและกลืน 1 เม็ด
กรณีไม่มี bleeding precaution)
ให้น้ําเกลือเพื่อเปิดเส้นไว้
ให้อมยา nitroglycerine 5 mg. ใต้ลิ้น
(ถ้าผู้ป่วยมียาประจําอม 1 เม็ดห่างกัน 5 นาทีไม่เกิน 3 เม็ด)
ห้ามให้อมยา nitroglycerine 5 mg. ใต้ลิ้น
ส่งต่อทันที
Acute Coronary Syndrome
ตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
พบ arrythmia
อาการเจ็บหน้าอกเหมือน angina pectoris แต่รุนแรงกว่ามี referred pain
ฟังเสียงหัวใจได้ยิเสียง`murmur
ตรวจคลื่นไฟฟ้า หัวใจอาจพบ Non-ST-Elevation MI หรือพบ Q-wave ST elevation MI
การซักประวัติที่พบ
มีเหงื่อออกหรือ คลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วยได้
จ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอกทันทีทันใด
เกิดขณะนอนพักหรือหรืออกแรงแต่ส่วนมากเจ็บหน้าอกขณะพักนาน 20 - 30 นาที
Acute aortic
dissection
การซักประวัติที่พบ
เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain ทันทีทันใด และรุนแรงตั้งแต่เริ่มแรกเหมือนมีการฉีกขาดบริเวณกลางหน้าอกและปวดทะลุไปกลางหลัง
ส่วนใหญ่มีประวัติ HT
ตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
รายที่มีการแตกของ aorta จะพบ BP
ตกหรือภาวะ shock
พบชีพจรที่คอ ขา-แขน อาจไม่เท่ากัน
ความดันโลหิตสองข้างไม่เท่ากันหรือแตกต่างกันมากกว่า 10 mmHg.
พบอาการซีดเขียวเย็นของแขน-ขาได้
รายที่แตกเซาะไปจนถึง carotid artery จะคลําชีพจรได้เบาและฟังได้เสียงฟู่
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ absolute bed rest เพื่อลดการฉีกขาดเพิ่มขึ้น- ให้ Morphine 3-5 mg IV dilute ทุก 10-15 นาที
ตามคําสั่งแพทย์
ส่งต่อทันที
Cardiac
tamponade
การซักประวัติที่พบ
อาการเจ็บแน่นหน้าอกตลอดเวลา
ประวัติอุบัติเหตุการบาดเจ็บของทรวงอก
โรคที่ทําให้เกิดน้ําในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ เช่น หัวใจล้มเหลว
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
อาการเหนื่อยอ่อนเพลีย
กระสับกระส่ายระดับความรู้สึกตัวลดลง
ปัสสาวะลดลง
neck vein engorgement
หัวใจเต้นเร็ว เสียงหัวใจเบาลง
พบ pulsus paradoxus
ความดันโลหิตตก
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ประเมินสัญญาณชีพ
ให้พักผ่อน (Rest)
ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM/Mask C bag ตาม O2 Saturation
ให้ IV fluid เพื่อเปิดเส้นและให้สารน้ําตามความเหมาะสม เพื่อ hemodynamic support
กรณีที่มีความดันโลหิตตกหรือมีภาวะช็อคในช่วงแรกควรให้ IV fluid อย่างเร็วเมื่ออาการดีขึ้นจึงปรับลดปริมาณ IV fluid ลง
ส่งต่อทันที
Pericarditis
ตรวจพบ pericardial
friction rub
คลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ
diffuse ST segment
elevation, depressed PR
segment
เจ็บหน้าอกแบบ sharp pain มีการปวดร้าวไปหลัง sternum
กระจายไปคอ หลังไหล่ซ้าย เจ็บมากขึ้นมาไอหายใจเข้าลึก กลืนอาหารหรือนอนหงาย
เจ็บน้อยลงมานั่งหรือก้มตัวไปข้างหน้า
Herpes zoster
พบผื่นแบบ (maculopapular) ซึ่งจะกลายเป็นตุ่มน้ำ (vesicles) ภายใน 1-2 วันหรือแผลไปตามแนว dermatome
เจ็บหน้าอกแบบปวดแสบปวดร้อนซีกใดซีกหนึ่งตามแนวเส้นประสาท (dermatome)
ถ้าปวด มีไข้ให้ paracetamol
หากเป็นผื่นทาด้วย calamine lotion หรือน้ําจากการบดต้น
เสลดพังพอนทาวันละ 2-3 ครั้ง
ควรส่งต่อใน 1 สัปดาห์ ถ้ามีการลุกลามขึ้นที่บริเวณตาหู/ปวด
รุนแรง/กระจายทั่วตัว/ผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 50 ปี
Esophageal spasm
การซักประวัติที่พบ
เจ็บแน่นๆอึดอัดกลางหน้าอกทันทีทันใดสัมพันธ์กับการกลืนอาหาร
มีประวัติกลืนอาหารลําบาก รู้สึกเหมือนมีสิ่งติดอยู่ในทรวงอกด้านล่างเป็นๆหายๆ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
- ส่งต่อแพทย์
Fracture rib
พบจุดกดเจ็บชัดเจน เจ็บมากขณะหายใจเข้า-ออก
ประวัติได้รับบาดเจ็บ/อุบัติเหตุ
Costochondritis/ Myositis
พบจุดกดเจ็บชัดเจน
เจ็บมากขึ้นเมื่อขยับทรวงอกกรณีกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีไข้ร่วมด้วย
อาการเจ็บแปลบๆ เวลาหายใจเข้าลึกๆหรือขยับตัว
มีประวัติไข้แล้วไอ
มากหรือการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างแรงๆ
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ประคบน้ําอุ่นหรือยานวด methyl
salicylate หรือครีมไพลจีซาลทานวดวันละ 2-3 ครั้ง
ให้ยาแก้ปวด Ibuprofen 200-400 mg. ทุก 4-6 ชั่วโมง PC (ไม่เกิน1.2 กรัม/วัน)
ติดตามอาการ 3 วัน ส่งต่อหากอาการ
ไม่ดีขึ้นหรือสงสัยอาจมีซี่โครงหัก
Gastroeso-phageal reflux disease/Reflux esophagitis
การซักประวัติที่พบ
เจ็บปวดแบบแสบร้อนเหมือนโดนไฟลวกในอกทั่วๆไป อาการเป็นๆหายๆ
มีอาการเปรี้ยวในคอ เจ็บคอ แสบลิ้นหรือไอเรื้อรังอาหารไม่ย่อย
ท้องอืด อาจมีประวัติสําลักอาหาร
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
ปวดแสบร้อน (heart burn) บริเวณ epigastrium 30-60 นาที หลังอาหาร/หลังกินอาหารแล้วล้มตัวนอน
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
ให้ Aluminum hydroxide 15 ml. qid. pc หลังอาหาร 1 ชั่วโมง
Ranitidine 150 mg.ทุก 12 ชั่วโมง
หากท้องอืดให้Simethicone 1-2 tab qid. pc และhs. (ไม่
เกิน 500 mg./day) หรือให้ M. carminative 1-2 ช้อนโต๊ะ tid. /qid. pc หลังอาหาร
ให้ยา 1 สัปดาห์นัดติดตามอาการหากดีขึ้นให้ยารับประทานต่อ 2 เดือน
ควรส่งต่อเพื่อการรักษาที่เหมาะสมเมื่อพบว่าอาการไม่ดีขึ้นใน 1 สัปดาห์
หรือเป็นๆหายๆเรื้อรัง / มีน้ําหนักลดอาเจียน ถ่ายดํา ซีดหรือดีซ่าน/ในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
นางสาวอารียา ชาวนา 60170074