Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รากฐานแห่งพระราชอำนาจ, น.ส. ปวิตรา ฝั้นแก้ว ม.4/10 เลขที่9 - Coggle Diagram
รากฐานแห่งพระราชอำนาจ
การสนับสนุนและจงรักภักดีของกลุ่มบุคคล
กลุ่มชนชั้นสูง
พระราชวงศ์
พระญาติที่ใกล้ชิดของกษัตริย์
สมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น
แต่งตั้งเจ้านายที่ไว้ใจไปครองเมืองสำคัญระดับเมืองลูกหลวง
การสถาปนาพระอิสริยยศจะเป็นลักษณะการเฉลิมฉลองพระนามิภิไตย
สมัยอยุธยาตอนกลาง
เปลี่ยนมาใช้วิธีการสถาปนาหรือเลื่อนอิสสริยยศแก่เจ้านายแทน
ขุนนาง
กลุ่มบุคคลที่ัรับราชการเป็นกลไกในการบริหารแทนกษัตริย์
สมัยอยุธยา ระบุตำแหน่ง หน้าที่ของขุนนางตามลำดับไว้ชัดเจน
การปกครองแยกเป็นกรมกรองต่างๆ
การตั้งขุนนาง คดสรรจากผู้สืบตระกูล ความภักดี
กลุ่มสมณพราหมณ์
พราหมณ์
ผู้ประกอบพิธีกรรมเพิ่มความศักดิ์สิทธิห้สถาบันกษัตริย์
เป็นขุนนางประจำราชสำนัก
ตำแหน่งสำคัญในสมัยอยุธยา คือพระโหราธิบดีและพระมหาราชครู
พระภิกษุสงฆ์
เป็นผู้สืบทอดศาสนา เผยแผ่หลักธรรมให้แก่ประชาชน
สมัยสุโขทัย - เสริมสร้างความมั่นคงให้สถาบัน
สมัยรัตนโกสินทร์พระเถระชั้นสูงยังได้มีบทบาทร่วมกันกับเจ้านาย
กลุ่มผู้ถูกปกครอง
ไพร่
ราษฎรที่เป็นเสรีชนทั้งชายและหญิง มีศักดินา 25 ไร่
ไพร่ชาย รับใช้ราชการตามกลุ่มสังกัดของตน
ไพร่หญิงที่อยู่ในเขตราชธานีอาจถูกเกณฑ์แรงงาน
ทาส
สถานภาพที่ต่ำที่สุดในสังคม ไม่มีอิสรเสรีในชีวิตของตน
สมัยรัตนโกสินทร์ มีการลดการควบคุมประชาชน
รัชกาลที่ 5 ยกเลิกระบบไพร่ทาส
พ่อค้า
ชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อค้าขายในราชอาณาจักร
กลุ่มพ่อค้าต่างชาตินี้ไ้เข้ามาควบคุมเศรษฐกิจระหว่างประเทศไทย บางส่วนเข้ารับราชการเป็นขุนนางในราชสำนัก
อิทธิพลและการสนับสนุนจากลัทธิศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
กษัตริย์คือพระเจ้่า
พราหมณ์เหล่านี้จะมีตำแหน่งราชการปรากฏในทำเนียบศักดินาตั้งแต่สมัยอยุธยา
ได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้จัดตั้งศาสนสถาน
พุทธศาสนา
ทั้งเถรวาทและมหายาน
เข้าสู่ดินแดนไทยใกล้เคียงกับศาสนาพราหมณ์
หลักฐานเป็นศาสนสถาน และรูปเคารพต่างๆทั่วทุกภาค
สมัยสุโขทัย แนวคิดพระพุทธศาสนาช่วยเสริมเสถียรภาพทางการเมืองของสถาบันกษัตริย์
น.ส. ปวิตรา ฝั้นแก้ว ม.4/10 เลขที่9