Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สิ่งแวดล้อมดีชีวีมีสุข, นายศุภณัฐ คชนาม ม.6/5 เลขที่ 5 - Coggle Diagram
สิ่งแวดล้อมดีชีวีมีสุข
ปัญหาสิ่งแวดล้อม ผลกระทบ และความเสี่ยงต่อสุขภาพของคนไทย
การเจริญเติบโตของสังคมเมืองอย่างรวดเร็ว
อันตรายต่อสุขภาพ เนื่องจากสิ่งแวดล้อมไม่ดี คนส่วนใหญ่จึงเป็นโรคทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร
กฏบัตรออตตาวาเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ
(The Ottawa Charter for Health Promotion )
3 การเพิ่มความสามารถของชุมชน
4 การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล
2 สร้างเสริมสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
5 การปรับระบบบริการสาธารณสุข
1 สร้างนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาพ
หน้าที่และความรับผิดชอบในการป้องกันและแก้ปัญหาในชุมชน
มลพิษทางน้ำ โดยการเลือกใช้น้ำยาซักล้างที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ทิ้งเศษอาหารลงแม่น้ำ
มลพิษทางอากาศ โดยการใช้จักรยานแทนรถยนต์เมื่อไปสถานที่ใกล้ๆ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ขยะมูลฝอย โดยการลดการนำขยะเข้าบ้าน กำจัดอย่างถูกวิธี รวมทั้งของเสียอันตราย
สถานการณ์มลพิษในประเทศไทย
สถานการณ์คุณภาพอากาศ
เกิดปัญหาฝุ่นละออง ก๊าชโอโซนและสารอินทรีย์ระเหยง่าย สาเหตุมาจาก ยานพาหนะ อุตสาหกรรม การเผาในที่โล่ง
สถานการณ์คุณภาพน้ำ
อยู่ในเกณฑ์ดีร้อยละ 12 พอใช้ร้อยละ 46 เสื่อมโทรมร้อยละ 37 เสื่อมโทรมมากร้อยละ 5
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สาหตุมาจาก น้ำทิ้งชุมชน การเพาะปลูก อุตสาหกรรม
ภาคตะวันออก สาหตุมาจาก น้ำทิ้งชุมชน การเพาะปลูก อุตสาหกรรม
กรุงเทพ สาหตุมาจาก อุตสาหกรรม
ภาคใต้ สาหตุมาจาก น้ำทิ้งชุมชน การเพาะปลูก อุตสาหกรรม
ภาเหนือ สาหตุมาจาก น้ำทิ้งชุมชน การเพาะปลูก อุตสาหกรรม
สถานการณ์ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
ปี 2556 มีขยะมูลฝอยตกค้างสะสมทั่วประเทศ 28 ล้านตัน จากนโยบายรัฐ "ขยะเป็นวาระแห่งชาติ" ส่งผลให้ขยะมูลฝอยทั่วประเทศลดลงเหลือ 14.8 ล้านตัน
ของเสียอันตรายในปี 2557 ทั่วประเทศ 2.69 ล้านตัน ร้อยละ 77 เป็นของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม ร้อยละ 21 มาจากชุมชน และร้อยละ 2 เป็นมูลฝอยติดเชื้อ
นายศุภณัฐ คชนาม ม.6/5 เลขที่ 5