Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย - Coggle Diagram
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องของกฎธรรมชาติ นักการศาสนามักจะอธิบายการเปลี่ยนแปลงของชีวิตของมนุษย์ว่า คนเรามีการเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นเรื่องธรรมดาและเป็นเรื่องของธรรมชาติ
1.2 ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและวัฒนธรรม
ปัจจัยด้านขบวนการสังคม (Social Movement)
ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยี (Technological)
ปัจจัยทางวัฒนธรรม (Cultural)
ปัจจัยทางกายภาพ (Physical) เป็น
ปัจจัยทางจิตวิทยา (Psychological)
ปัจจัยทางประชากร (Population)
ปัจจัยอื่น ๆ (Other)
ปัจจัยทางชีววิทยา (Biological)
1.3 ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาค่าใช้จ่ายที่ต้องมีในการสร้างความเปลี่ยนแปลง
ปัญหาอันเป็นผลต่อเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
ปัญหาความไม่สมดุลของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงทางภาษา
2.1 ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาที่ต่างกัน
การเปลี่ยนแปลงของภาษาเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกัน
2.2 ปัจจัยที่ทำให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
ปัจจัยภายในที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงภายในตัวภาษานั้นขึ้นกับคุณสมบัติของ ภาษา 2 ประการ
1.1 ความสมมาตร (Symmetry)
1.2 ความประหยัด
ปัจจัยภายนอกที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของภาษา
2.1 ระบบการสื่อสารและเทคโนโลยีการพิมพ์
2.2 อิทธิพลของภาษาต่างประเทศ
2.3 การปฏิรูปการศึกษา สังคม การเมือง และเศรษฐกิจ สมัยรัชกาลที่ 5
2.3 ภาษาไทยยุคใหม่กับโลกสมัยที่เปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่ภาษาเปลี่ยนแปลงในลักษณะของการออกเสียง คำศัพท์ รูปแบบ และลักษณะอื่นอื่นตามกาลเวลาที่เปลี่ยนไป
สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาษาไทยสมัยใหม่การ
เปลี่ยนแปลงภาษามีสาเหตุมาจากการตอบสนองความต้องการ
ของมนุษย์เพื่อให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ผลที่ตามมาจะ
ทำให้สังคมเปลี่ยนแปลงไป
2.2 การเปรียบเทียบวัฒนธรรมตะวันตกที่ไม่ซับซ้อน
2.3 ความเจริญทางเทคโนโลยีที่เข้ามา เช่น การพิมพ์
2.1 การหลั่งไหลเข้ามาของวัฒนธรรมตะวันตก
2.4 ความเจริญทางด้านสังคมและชุมชนต่าง ๆ
ตัวอย่างภาษาที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมภาษาวิบัติ
2.4 ผลกระทบจากการใช้ภาษาวิบัติ
ผลสะท้อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบความสัมพันธ์ของบุคคลและภาษาที่นำมาใช้สื่อสารแตกต่างกันไปตามวัฒนธรรมภาษาของแต่ละท้องถิ่น
2.5 ความอยู่รอดของภาษาไทยในยุคดิจิตอล
ปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่าน พ่อแม่ผู้ปกครองควรปลูกฝังวัฒนธรรมรักการอ่านให้กับบุตรหลานตั้งแต่เล็ก ๆ
ปลุกจิตสำนึกในการหวงแหนภาษาไทย
เปลี่ยนแปลงตัวเอง เมื่อเรารู้ว่าคำใดใช้ผิดหรือถูก คำใดควรหรือไม่ควรใช้กับบริบทในขณะนี้แล้ว สิ่งที่สำคัญต่อมาคือ เรายังคงใช้คำที่ผิด ๆ เหล่านี้อยู่อีกหรือไม่
2.6 ภาษาไทยในยุค 4.0
ประเทศไทยมีการปรับรูปแบบเศรษฐกิจอยู่หลายครั้ง เริ่มจาก “ประเทศไทย 1.0” ซึ่งเน้นเรื่องการเกษตร “ประเทศไทย 2.0” ซึ่งเน้นเรื่องอุตสาหกรรมเบา ในปัจจุบันคือ “ประเทศไทย 3.0” ซึ่งเน้นเรื่องอุตสาหกรรมหนัก ต่อไปจะเป็น “ประเทศไทย 4.0” ซึ่งเน้นเรื่องเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม “ประเทศไทย 4.0”
พลวัตรของภาษาและวัฒนธรรมในสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลง หมายถึง ภาวะและปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกันตลอดเวลา โดยจะมีความแตกต่างกันในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมจะมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน