Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 3 แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายการบริหารงานส่งเสริมการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
นโยบาย
แนวทางปฏิบัติกว้างๆ จัดทำเพื่อเป็นทิศทางในการตัดสินใจเพื่อให้ดำเนินการได้บรรลุผลสำเร็จ
นโยบายสาธารณะ
องค์ประกอบ
ประเด็นปัญหา
ผู้จัดการประเด็นปัญหา
นโยบาย
ความสำคัญ
ฝ่ายผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ผลกระทบของนโยบายสาธารณะที่ตั้งใจจะให้เกิดขึ้น
ผลกระทบของนโยบายสาธารณะที่ไม่ตั้งใจจะให้เกิดขึ้น
ฝ่ายผู้ได้รับผลกระทบจากนโยบายสาธารณะ
ผลกระทบของนโยบายสาธารณะ
ผลกระทบเชิงบวก
ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
ผลกระทบในเชิงลบ
ไม่ทำให้เกิดผลลัพธ์
ขาดความเชื่อมั่นของรัฐบาล
กระบวนการ/ขั้นตอนการบริหารนโยบายสาธารณะ
การกำหนดนโยบาย
การนำนโยบายไปปฏิบัติ
ประเมินนโยบาย
ประโยชน์
กำหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
ตอบสนองความต้องการของประชาชน
แก้ไขปัญหาที่เป็นสาธารณะ
สร้างความเป็นธรรมและความเสมอภาค
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สภาพแวดล้อมภายในประเทศที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
ด้านการเมือง
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ด้านวัฒนธรรม
วัฒนธรรมไม่สนใจการเมือง
วัฒนธรรมแบบรับรู้แต่ไม่เข้าร่วมทางการเมือง
วัฒนธรรมการเข้าร่วมทางการเมืองอย่างแข็งขัน
ด้านการบริหาร
สภาพแวดล้อมภายนอก
ประเทศที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
สภาพแวดล้อมทางการเมืองระดับโลก
สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
สภาพแวดล้อมทางสังคม
สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี
ผู้มีหน้าที่และผู้เกี่ยวข้องกับนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้มีหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ
ฝ่ายนิติบัญญัติ
ฝ่ายบริหาร
ฝ่ายตุลาการ
ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในนโยบายสาธารณะ
กลุ่มผลประโยชน์
พรรคการเมือง
ประชาสังคม
ประชาชนทั่วไป
ขั้นตอนของกระบวนการนโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดนโยบายการบริหารงานส่งงเสริมและพัฒนาการเกษตร
การก่อตัวของประเด็นสาธารณะ
ประเด็นปัญหาพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ
ประเด็นปัญหาเกิดขึ้นเป็นประจำ/เกิดเป็นช่วงๆ
ประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นใหม่และกระทบความรู้สึกต่อสาธารณะอย่างกว้างขวาง
ประเด็นปัญหาสำคัญของประเทศที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลานาน
ปัญหาเป็นระเบียบวาระของชาติ
ปัญหาที่ได้จากการศึกษาวิจัย
การนิยามหรือการระบุประเด็นปัญหา
ปัญหาคืออะไร
ใครมีปัญหา
วิธีการแก้ไขปัญหา
การกำหนดวัตถุประสงค์
S=specific
M=Measurable
A=Attainable
R=Result-limited
T=Time
การวิเคราะห์ทางเลือกและการตัดสินใจ
ตัดสินด้วยทฤษฎีหลักเหตุผล
ตัดสินใจตามทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงในส่วนเพื่ม
การตัดสินใจตามทฤษฎีการผสมผสานระหว่างทางกว้างและทางลึก (ใช้เหตุผล+ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง)
การนำนโยบายไปปฏิบัติในการบริหารงานส่งงเสริมและพัฒนาการเกษตร
โครงสร้างการจัดองค์กร
การบริหารราชการส่วนกลาง
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
ระบบหรือกระบวนการบริหารงาน
องค์ประกอบ
การกำหนดกลยุทธ์
แปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ
ติดตามประเมินผล
ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
ด้านการจัดโครงสร้างองค์กร
ลักษณะของนโยบาย
การบริหารจัดการ
การจัดการความรู้
การบริหารการเปลี่ยนแปลง
การบริหารเวลา
ด้านปัจจัยสภาพแวดล้อมอื่นๆ
ทัศนคติและการยอมรับต่อนโยบาย
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม
การจัดการในภาวะวิกฤต
การจัดการความเสี่ยง
การประเมินนโยบายในการบริหารงานส่งงเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญของการประเมินนโยบาย
วัตถุประสงค์ของการประเมินนโยบาย
เพื่อติดตามความก้าวหน้า
เพื่อประเมินความเหมาะสมของนโยบาย
เพื่อประเมินสภาพแวดล้อม+การเปลี่ยนแปลง
ขั้นตอนในการประเมินนโยบาย
การตรวจสอบปัจจัยพื้นฐาน
การเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่คาดหวังกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง
การกำหนดเกณฑ์เปรียบเทียบ
การวัดผลการปฏิบัติงาน
การวิเคราะห์ความแตกต่าง
การวัดความสำเร็จแบบสมดุล
มุมมอง 4 ด้าน
มุมมองด้านการเงิน
มุมมองด้านลูกค้า
มุมมองด้านกระบวนการภายใน
มุมมองด้านการเรียนรู้และการพัฒนา
การแก้ไขเพื่อให้การดำเนินงานสอดคล้องกับนโยบาย
ผู้ประเมินนโยบาย
ผู้ปฏิบัติงาน
ผู้ประเมินภายในองค์การซึ่งมีความเชียวชาญเฉพาะทาง
ผู้ประเมินภายนอกองค์กร
ผู้ประเมินซึ่งได้รับมอบหมายงานประเมินผลจากผู้สนับสนุน
นโยบายในการบริหารงานส่งงเสริมและพัฒนาการเกษตรของประเทศไทย
นโยบายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรตามบทบัญญัติของกฎหมาย
นโยบายตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
นโยบายตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
แนวนโยบายอื่นๆ
ด้านที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ด้านเศรษฐกิจ
ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
นโยบายตามบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
กฎหมายเกี่ยวกับเกษตรกและสถาบันเกษตรกร
Law เกี่ยวกับการผลิต การจัดการสินค้า และความมั่นคงทางอาหาร
Law เกี่ยวกับทรัพยากรณ์การเกษตร
Law เกี่ยวกับการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการเกษตร
นโยบายในการบริหารงานส่งงเสริมและพัฒนาการเกษตรตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10
แนวคิดหลักและทิศทางการพัฒนาประเทศ
เศรษฐกิจพอเพียง
คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา
สาระสำคัญของแผนที่เป็นแนวนโยบายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและยั่งยืน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทางชีวภาพ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงในระดับโลกที่สำคัญ
กฎกติกาใหม่ของโลก
การปรับตัวสู่เศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนย์กลาง
สังคมผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
การน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเปลี่ยนแปลงสภาวะทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงสภาวะทางสังคม
การเปลี่ยนสภาวะทางด้านทรัพยากรณ์ธรรมชาติ
ความมั่นคงทางอาหาร+พลังงานโลก
เขตการค้าเสรี
การจัดตั้งประชาคมอาเซียน
สาระสำคัญของแผนที่เป็นแนวนโยบายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ยุทธศาสตร์พัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตกร
ความมั่นคงในอาชีพเกษตรกร
สร้างองค์ความรู้
สร้างขีดความสามารถในการรับมือภัยธรรมชาติ
ความมั่นคงทางอาหาร
สนับสนุนเกษตรกรรุ่นใหม่
สนับสนุนสถาบันเกษตรกร
ยุทธศาตร์การพัฒนาขีดความสามารถในการผลิต
สร้างมูลค่าเพิ่ม
เป้นมิตร สวล.
เสริมสร้างการผลิตอาหาร+พลังงาน
สนับสนุนตลาดสินค้าเกษตร
ยุทธศาสตร์พัฒนาทรัพยากรณ์การเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมทรัพยากรเกษตร+โครงสร้างพื้นฐาน
ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรณ์อย่างเหมาะสม
ผลักดันการมีส่วนร่วม
เตรียมรับมือจากผลกระทบสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรเกษตร
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงระดับโลกที่สำคัญ
เศรษฐกิจและการตลาดโลกผันผวน
กติกาด้านการค้าเปลี่ยนแปลงไป
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไป
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีชีวภาพ
แนวโน้มประชากรเพิ่มขึ้น
การเปลี่ยนแปลงระดับประเทศ
นโยบายเปลี่ยนแปลง
รายได้เหลื่อมล้ำ
ขาดแรงงานภาคเกษตร
ทรัพยากรณ์ธรรมชาติเสื่อมโทรม
สาระสำคัญของแผนพัฒนาการเกษตร
สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร+สถาบัน
ขยายผลปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สร้างขวัญกำลังใจในอาชีพเกษตกร
ส่งเสริมเกษตรกรรมยั่งยืน
สร้างองค์ความรู้
ส่งเสริมเชื่อมโยงเครือข่าย
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าเกษตรตลอดโซ่อุปทาน
มาตรฐานสินค้าเกษตร
ส่งเสริมโซ่อุปทานสินค้าเกษตร
เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร
จัดจัดตั้งศูนย์กลางระบบตลาดสินค้าเกษตร
เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร+พลังงาน
เสริมสร้างความร่วมมือภาครัฐ+เอกชน
จัดการความเสี่ยงที่กระทบต่อพืชผลทางการเกษตร
ยุทธศาสตร์การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคการเกษตร
สนับสนุนการวิจัย
สนับสนุนเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม
ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการทรัพยากรณ์ะธรรมชาติ
ฟื้นฟู+อนุรักษ์ทรัพยากรณ์ธรรมชาติ
ส่งเสริมการทำเกษตรเป็นมิตรต่อ สวล.
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน+สิ่งอำนวยความสะดวก
บริหารจัดการที่ดินทำกิน
สร้างความคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นโยบายในการบริหารงานส่งงเสริมและพัฒนาการเกษตรของรัฐบาลและส่วนราชการ