Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู - Coggle Diagram
บทที่ 6 ภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
ความสำคัญของภาษาต่างประเทศกับการพัฒนาวิชาชีพครู
1.1 ทักษะภาษาอังกฤษ : ความจำเป็นพื้นฐานในวิชาชีพครู
ภาษาอังกฤษ เป็นสื่อกลางในกิจกรรมแทบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็น ด้านการค้าและการลงทุน การศึกษา การติดต่อสื่อสาร การท่องเที่ยว และการใช้ในชีวิตประจำวัน แม้ว่าปัจจุบันจะมีภาษาต่างประเทศอื่น ๆ เข้ามามีบทบาทมากขึ้น เช่น ภาษาจีน ภาษาเกาหลี ภาษาญี่ปุ่น ฯลฯ แต่ภาษาอังกฤษยังคงเป็นที่ยอมรับและนำมาใช้เป็นภาษากลางของคนทั่วโลก
หมั่นเข้าหาแหล่งข้อมูลทางวิชาการที่เป็นภาษาอังกฤษ
สอดแทรกสอนภาษาอังกฤษในวิชาที่รับผิดชอบ
ใช้ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน
จัดตารางและมีวินัยฝึกฝนต่อเนื่อง
สร้างแรงจูงใจพัฒนาภาษาอังกฤษให้ตนเอง
การพัฒนาวิชาชีพครูสู่สมรรถนะมาตรฐานสากล
การเตรียมแผนการสอนที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของโรงเรียน
การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้
การพัฒนาและการใช้ทรัพยากรสำหรับการเรียนการสอน
การพัฒนาทักษะการจัดลำดับความคิดในระดับสูง
การอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
การส่งเสริมค่านิยมด้านศีลธรรมและจริยธรรม
ส่งเสริมการพัฒนาชีวิต และทักษะวิชาชีพแก่ผู้เรียน
การวัดและประเมินพฤติกรรมของผู้เรียน
การพัฒนาด้านวิชาชีพ
การสร้างเครือข่ายกับผู้เกี่ยวข้องโดยเฉพาะผู้ปกครองนักเรียน
การจัดสวัสดิการและภารกิจแก่นักเรียน
C-Teacher
Content: ผู้สอนต้องมีความรู้และทักษะในเรื่องที่สอนเป็นอย่างดี
Computer (ICT) Integration: ผู้สอนต้องมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี มาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
Constructionist: ผู้สอนต้องเข้าใจแนวคิดที่ว่า ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ขึ้นได้เองจากการเชื่อมโยงความรู้เดิมที่มีอยู่เข้ากับความรู้และประสบการณ์ใหม่ ๆ ที่ได้รับ และได้จากการลงมือปฏิบัติในกิจกรรมต่าง ๆ
Connectivity: ผู้สอนต้องสามารถจัดกิจกรรมให้เชื่อมโยงระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
Communication: ผู้สอนมีทักษะการสื่อสาร ทั้งการบรรยาย การยกตัวอย่าง การเลือกใช้สื่อ การนำเสนอสื่อ รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้
Creativity: ผู้สอนในศตวรรษที่ 21 จำเป็นต้องสร้างสรรค์กิจกรรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
Caring: ผู้สอนต้องมีมุทิตาจิตต่อผู้เรียน ต้องแสดงออกถึงความรัก ความห่วงใยอย่างจริงใจต่อผู้เรียน