Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การออกเเบบโดยวิธี LRFD - Coggle Diagram
บทที่ 2 การออกเเบบโดยวิธี LRFD
2.1 พื้นฐานการออกเเบบ
หลักการ ในสภาวะที่ส่วนโครงสร้างใกล้จะวิบัติ น้ำหนักบรรทุกใช้งานที่เพิ่มค่าเเล้วจะต้องมีค่าไม่เกินกำลังที่ใช่ในการออกเเบบ
ตัวคูณความต้านทาน
น้ำหนักบรรทุกใช้งานที่เพิ่มค่าเเล้ว
กำลังที่ใช้ออกเเบบ
น้ำหนักบรรทุก
2.2 น้ำหนักบรรทุกสำหรับอาคาร
ต้องทำการออกเเบบให้ส่วนโครงสร้างของอาคารมีกำลังต้านทานที่สามารถรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆได้อย่างปลอดภัย
น้ำหนักบรรทุกคงที่
น้ำหนักเสา
น้ำหนักคาน
น้ำหนักพื้น
น้ำหนักบรรทุกจร
น้ำหนักของสิ่งของต่างๆที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ที่เกิดขึ้นในอาคารหลังจากก่อสร้างเสร็จเเล้ว
2.3โครงสร้างรับเเรงดึง
คือ องค์อาคารหน้าตัดสม่ำเสมอ รับเเรงดึงตามเเนวเเกนที่กระทำผ่านจุดศูนย์ถ่วงของหน้าตัด
โครงสะพาน
หอสูง
ค้ำยัน
โครงหลังคา
2.3.1การวิบัติของโครงสร้างรับเเรงดึง
การคราก
การฉีกขาด
2.3.2 พื้นที่หน้าตัดสุทธิ
คำนวณพื้นที่หน้าตัดสุทธิสำหรับเเรงดึงเเละเเรงเฉือน
สำหรับรูเจาะที่เรียงกันเป็นเเนวทเเยงหรือเฉียงไปมา
ระยะในเเนวตั้งฉากกับเเนวระหว่างศูนย์กลางของรูเจาะที่อยู่ติดกัน
2.3.3พื้นที่หน้าตัดประสิทธิผล
เมื่อต่อปลายโดยการเชื่อม Ae=UAg
เมื่อต่อปลายโดยใช้ตัวยึด Ae=UAn
2.3.4 การออกเเบบโครงสร้างรับเเรงดึง
สำหรับเคเบิ้ล หรือท่อนเหล็กรับเเรงดึง
สำหรับข้อต่อเเบบหมุนได้ในเเผ่นเหล็ก หรือหมุดตาไก่
สำหรับอาคารรับเเรงดึงทั่วไป
สำหรับองคือาคารที่รับเเรงดึงกับเเรงเฉือน
อัตราส่วนความชะลูด