Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รากฐานแห่ง พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์, การสนับสนุนและความจงรักภักดีของก…
รากฐานแห่ง
พระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
:
การสนับสนุนและความจงรักภักดีของกลุ่มบุคคล
กลุ่มผู้ถูกปกครอง (ประชากรทั่วราชอาณาจักร)
ไพร่
ราษฏรที่เป็นเสรีชนทั้งชายหญิง มีศักดินา25ไร่ ไพร่ชายทำหน้าที่รับใช้ราชการตามกลุ่มสังกัดทุกยาม ระยะถูกเกณฑ์ขึ้นอยู่กับความจำเป็นของบ้านเมือง ไพร่หญิงในเขตราชธานีอาถูกเกณฑืแรงงาน ไพร่ที่ห่างไกลอาจใช้วิธีส่งส่วยให้ทางการเกณฑ์แรงงาน
ทาส
สถานภาพต่ำสุดในสังคม อาจมาจากเชลยศึก ทาสขัดดอก ลูกทาส ทาสไม่มีอิสระเสรีในชีวิตตนเอง
พ่อค้า
ถือว่าชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อค้าขายเป็นผู้เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารและเป็นปัจจัยสร้างความมั่นคงของรัฐ จึงได้รับการอุปถัมภ์ สิทธิพิเศษ ไม่ต้องถูกเกณฑ์ แต่ใช้วิธีจัดตั้งเป็นกองทหารอาสาตามเชื้อชาติ
กลุ่มชนชั้นสูง
พระราชวงศ์
คือพระญาติที่ใกล้ชิดของKing เป็นทั้งกำลังสำคัญฬนการค้ำจุน ช่วงชิงบัลลังก์ Kingจึงต้องหาวิธีควบคุมพร้อมการผูกพันไว้เป็นฐานอำนาจ วิธีปฏิบัติในสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น = แต่งตั้งเจ้านายที่ไว้วางพระทัยไปครองเมืองสำคัญ มีอำนาจเบ็ดเสร็จในการยริหารแต่ยังมีหน้าที่ปกป้องราชธานี อยู่ใต้การบัญชาของKing ขึ้นอยู่กับพระราโชบาย การสถาปนาจะเป็นลักษณะเฉลิมพระนามาภิไชย ส่วนตำแหน่งกฏมณเฑียรบาลเริ่มสมัยพระบรมไตรโลกนาถ สมัยราชวงศ์ปราสาททองเริ่มการสถาปนาให้เจ้านายทรงกรม คือKingจะพระราชทานไพร่ไปสังกัดอยู่กับเจ้านายองค์หนึ่งเป็นการบำเหน็จตอบแทนความดีชอบ สมัยอยุธยาตอนกลาง = Kingได้ยกเลิกระบบกินเมืองเพื่อรวบรวมกำลังพลมาช่วยราชการในราชธานี สามารถควบคุมพระราชวงศ์ได้ใกล้ชิด แต่เพื่อป้องกันความไม่พอใจของเจ้านายที่ถูกยกเลิกผลประโยชน์ king จึงเปลี่ยนเป็นการสถาปนาแก่เจ้านายแทน
การจัดลำดับยศจะพิจารณาจากสกุลเดิม
ขุนนาง
คือ กลุ่มบุคคลที่รับราชการเป็นกลไกในการบริหารแทนking อาจมากจากผู้รับใช้ใกล้ชิดก่อนครองราชย์หรือบุตรหลานขุนนางที่ไว้วางใจ
การตั้งขุนนางต้องคัดจากผู้สืบตระกูล มีความภักดี ไม่มีจิตมุ่งร้ายยิ่งในช่วงเปลี่ยนราชวงศ์ ตระกูลขุนนางใกล้ชิดจะได้รับการปูนบำเหน็จรางวัลเพื่อเป็นฐานค้ำจุนบัลลังก์
ไมตรี คือการผูกสัมพันธ์ผ่านสตรีตระกูลขุนนางและประเทศราชที่เข้ารับราชการฝ่ายในเป็นพระสนม ถ้ามีโอรส/ราชธิดาด้วย สกุลฝ่ายชนนีก็เป็นฐานอำนาจสำคัญให้king
มาตราการด้านอำนาจ คือตรากฏหมายไว้ลงโทษผู้กระทำผิดโดย้ฉพาะโทษฐานกบฏ หมิ่นพระบรมเดชานุภาพ โทษหนักเบาลดหลั่นตามความผิด เฆี่ยน จองจำ ถอดยศ ริบราชบาตร ประหาร ประหาร7ชั่วโตคตร
กลุ่มสมณพราหมณ์
พราหมณ์
เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมรวมทั้งเป็นขุนนางประจำราชสำนัก ตำแหน่งสำคัญสมัยอยุธยาคือ พระโหราธิบดีและพระมหาราชครู พราหมณ์เหล่านี้มีบทบาทในการทำนายโชคชะตาราศี ฤกษ์ยามเกี่ยวกับการประกอบพิธี จึงได้รับการยกย่อง
พระภิกษุสงฆ์
ตั้งแต่สมัยสุโขทัย ก็มีบทบาทในการช่วยเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันกษัตริย์ทั้งทางตรงและอ้อม สมัยรัตนโกสินทร์พระเถระชั้นสูงยังได้มีบทบาทร่วมกับเจ้านาย ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ในการคัดเลือกผู้ที่สมควรดำรงตำแหน่งกษัตริย์ในร.3-5ด้วย
อิทธิพลและการสนับสนุนจากลัทธิศาสนา
พราหมณ์-ฮินดู
ถือว่าKingคือเทพเจ้า การที่จะเป็นKingโดยสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อผ่านการประกอบพิธีสมมติยาภิเษกเพื่อการยอมรับจากมหาเทพ โดยมีคณะพราหมณ์มีสิทถ่ายทอดโองการจากเทพเจ้า พราหมณ์เหล่านี้จะมีตำแหน่งปรากฏในทำเนียบศักดินาตั้งแต่สมัยอยุธยาและยังได้รับพระมหากรุณาธิคุณให้จัดตั้งศาสนสถานไว้กลางพระนคร
พุทธศาสนา
ทั้งเถรวาทและมหายานได้เผยแผ่เข้าสู่ดินแดนในประเทศไทยในระยะใกล้เคียงกับศาสนาพราหมณ์ ปรากฏหลักฐานเป็นศาสนสถานและรูปเคารพต่างๆ คติของพระพุมธศาสนามิได้สนับสนุนผู้ใช้อำนาจดังศาสนาพราหมณ์
สมัยสุโขทัย กษัตริย์รับอิทธิพลเถรวาทลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราชและลัทธิรามัญวงศ์จากนครพัน
หลักธรรมในพระพุทธมีบทบาทสำคัญในการกำหนดความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง และหลักธรรมสำคัญคือทศพิธราชธรรม
นางสาว ณัฏฐณิชา บำเพ็ญ ม.4/13 เลขที่38