Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Gastrointestinal tract ระบบทางเดินอาหาร, นางสาวอัชริญา ศรีวรสาร…
Gastrointestinal tract
ระบบทางเดินอาหาร
Primitive gut
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
midgut ได้แก่ ตับอ่อนบางส่วน duodenum ใต้ต่อรูเปิดของท่อน้ำดี,jejunum, ileum, caeum, appendix, ascending coion และ 2/3 ของ transvers colon ทางด้านขวา หลอดเลือดประจำคือ superior mesenteric artery และ vein
hindgut ได้แก่ 1/3 ของ transvers colon ทางด้านช้าย,descending coion และ sigmoid colon,rectum และ anal canal หลอดเลือดประจำคือ inferior mesenteric artery และ vein
foregut ได้แก่ หลอดอาหารกระเพาะอาหาร duodenum ส่วนที่ 1 และ 2 (ก่อนถึงรูเปิดถุงน้ำดี) ตับอ่อนส่วนใหญ่ ตับ และถุงน้ำดี หลอดเลือดประจำคือ celiac trunk ยกเว้น pharynx, respiratory tract และส่วนใหญ่ของ esophagus
ปาก (Mouth หรือ Buccal cavity)
ริมฝีปาก
ด้านนอกบุด้วย stratified keratinizing epithelium ส่วนด้านในบุด้วย stratified squamous epithelium ปกคลุมด้วยกล้ามเนื้อ orbicularis oris และ buccinators
เพดาน (Palate)
เพดานแข็ง (Hard palate)ด้านหน้า2/3ประกอบด้วยกระดูก maxilla และ palatine
เพดานอ่อน (Soft palate) ส่วนของเพดานด้านหลัง 1/3 ประกอบด้วย mucous fiber หลอดเลือด,เส้นประสาท, adenoid tissue, mucous gland และบุด้วย mucous mebrane และด้านหลังมีลิ้นไก่(uvuia)
ฟัน (teeth)
รากฟัน (root)หยั่งลงไปในเบ้าอาจมีมากกว่า1 รากขึ้นกับชนิดของฟันนั้นๆ
ส่วนที่ยื่นพ้นเหงื่อออกมา (crown)
คอฟัน (neck)เป็นช่วงรอยคอดของฟัน
ลักษณะทั่วไปของระบบย่อยอาหาร
ส่วนประกอบของผนังลำไส้
เยื่อหุ้มภายนอก(serous หรือ adventitia)
ด้านการเรียงตัวตามแนวยาว(longitudinal layer)และชั้นในเรียงตัวตามแนวขวาง(circular layer)
ชั้นใต้เยื่อบุ (submucosa)
ชั้นเยืื่อบุภายใน (mucosa)
กล้ามเนื้อเรียบทางเดินอาหาร
ใยกล้ามเนื้อมีความยาวประมาณ 200-500 ไมครอน กว้าง 2-10 ไมครอน
หลอดอาหาร (Esophagus หรือ Guiiet)
ส่วนคอ(cervical part) นับจากส่วนต่อของหลอดคอผ่านทะลุช่องอก(Thracic inlet: rib 1) มีกล้ามเนื้อลาย
ส่วนนอก (thoracic part)อยู่ในช่องอกจนถึงกระบังลม
ส่วนท้อง(abdominal part)เป็นส่วนท้าย ใต้ต่อกระบังลมและติดต่อกับกระเพาะอาหาร
คอหอย (Phaynx)
คอหอยเป็นอวัยวะที่เจริญมาจาก primitive pharynx และมีความสัมพันธ์กับความเจริญของหลอดลม หลอดอาหารและหู คอหอยเจริญเต็มที่จะยาวประมาณ 5-5.5 นิ้ว
กระเพาะอาหาร(Stomuch)
พัฒนามาจาก foregut ที่โป่งพองออกระหว่างสัปดาห์ที่5ขณะอยู่ในครรภ์ซึ่งมีการหมุนตามแนวแกนทำมุม 90 องศา ทำให้ซีกซ้ายมาอยู่ด้านหลังและกลายเป็น lesser curvature ส่วนซีกขวาหมุนไปทางด้านหลังและเจริญอย่างรวดเร็วเป็นทgreater curvatuure
ความสัมพันธ์ของกระเพาะอาหารกับอวัยวะใกล้เคียง
ด้านหน้า: มี ตับ กระบังลม ผนังหน้าท้อง
ด้านหลัง: มี ม้าม ตับอ่อน ไต ต่อมหมวกไต กระบังลม และ transverse mesocolon
ลำไส้ (Intestine)
ลำไส้เล็ก (Small intestine)
ลำไส้ส่วนต้น (duodenum)เจริญมาจาก foregut ยาวประมาณ 2.5 ซม.
ลำไส้เล็กส่วน jejiunum เป็นส่วนที่ต่อมาจาก duodenum(L2)ขณะว่างจะยาวประมาณ 7.5 ฟุต หรือ 2/5 ของลำไส้
ลำไส้เล็กส่วน Ileum ยาวที่สุดของลำไส้เล็ก โดยยาวประมาณ 3/5 ของลำไส้(21ฟุต)
ลำไส้ใหญ่ (Large intestine)
เจริญมาจาก midgut และ hindgut ส่วนต่างๆ ของลำไส้ใหญ่เริ่มจากส่วนกระพุ้งที่ต่อจาก
ลำไส้เล็กส่วน ileum คือ caecum,vermiform appendix, ascending colon,transverse
colon,dascending colon, sigmoid colon, rectum และ anus ยาวประมาณ 5 ฟุต ทำ
หน้าที่ดูดซึมน้ำและเก็บอุจจาระ
ตับอ่อน (Panceas)
เจริญมาจาก vental และ dorsal pancreas เมื่อกระเพาะอาหารหมุนตับอ่อนจึงหมุนด้วย ทำให้ด้าน dorsal pancreas(ด้านขวา)มาซ้อนด้านหลังของ ventral pancreas (ด้านซ้าย) เมื่อพัฒนาสิ้นสุดตับอ่่อนจะตั้งอยู่ด้านข้างของกระดูกสันหลังส่วนเอวที่ 1-2 (L1-2) หลังต่อกระเพาะอาหาร และติดกับลำไส้เล็กส่วนต้น
หน้าที่:
ขับบน้ำย่อย (Pancreatic juice)ย่อยไชมัรเข้าสู่ลำไส้เล็กส่วนต้น
ผลิตฮอร์โมนช่วยในการสะสมและเผาผลาญ
ท่อน้ำดี(Bile duct)
เป็นท่อน้ำดีจากตับเป็น Left & Right hepatic duct รวมเป็น hepatic duct เข้าสู่ถุงน้ำดีทาง cystic duct เพื่อนำน้ำดีเก็บสะสมในถุงน้ำดีเพเื่อให้มีความเข้มข้นที่เหมาะสม เมื่อมีไขมันผ่านลงที่ลำไส้เล็กส่วนต้น(duodenum)จึงปล่อยน้ำดีผ่านทางcommon bile duct ซึ่งเชื่อมต่อกับตับอ่อนที่ panceatic duct เซลล์ที่ถุงน้ำดีมีความทนต่อความเป็นด่าง
ถุงนน้ำดี( Gall dladder)
รูปร่างคล้ายลูกแพร (Pear shaped)ข้างในกรวง อยู่หลังตับ 1. ส่วนยออด(fundus) 2.ส่วนกลาง(body) 3. ส่วนคอ (neck)ต่อกับ cystic duct ขนาด 4*10 ซม. ความจุ 40-70มล.
เยื่อภายถุงน้ำดีมีลักษณะย่น mucosa เป็น tall columnar epithelial ผิวด้านบนระหว่างชั้นกล้ามเนื้อใต้เยื่อบุ (lamina propria) กับชั้นกล้ามเนื้อที่หุ้มเรียกว่า Rokitansky-Aschoff sinuses เป็นช่องว่างที่เกิดการเปล่ยนแปลงของพยาธิสภาพเมื่อเกิดโรคของถุงน้ำดี ซึ่งช่องว่างนี้ไม่พบในช่วงที่เป็น fetus
ตับ (Liver)
หน้าที่:
สร้างน้ำดี (bile)ย่อยไขมัน
ทำลายเม็ดเลือดแดงให้เป็นสาร bilirubin
ควบคุมการเผาผลาญแป้งและไขมัน
สร้างสารที่ช่วยในกระบวนการแข็งตังของเลืออดคือ fibinojen และ prothrombin
สร้าง uric acid,urea จากแอมโมเนีย
สร้างเม็ดเลือด (hematopoiessis)จากสาร erythropoietin
เซลล์ตับ(parenchymal cell)
Hepatocyte มีลักษณะเป็น cuboidal epithelial cell
Kupffer cell ทำหน้าที่เป็น tissue macrophage รูปร่างคล้ายดาวทภายในมี lysosome มากเกาะติดกับเซลล์บุ ใน sinusoid
Fat-storing cell หรือ Eto cell เป็นเซลล์ที่อยู่ภายนอก sinusoid ภายในมีการสะสมของหยดไขมัน ทำหน้าที่ดก็บไขมันและเกี่ยวข้องกับขบวนการสร้างวิตามินเอ
ไส้ติ่ง (Vermiform appendix)
งอกออกมาจากส่วน caecal diverticulum ตรงข้ามกับ mesentery เจริญเป็นรูปกรวยปลายตันช้าๆ จนเป็น appendix คำว่า vermiform คือ ลักษณะคล้ายหนอน ยาว 3 ซม.
ตำแหน่งของไส้ติ่ง เป็นจุดตรงรอยต่อของส่วนนอก 1/3 กับส่วนใน 2/3 ของเส้นสมมติที่ลากจาก anterior superior iliac spine ของ ilium ด้านขวามายังสะดือ (umbilicus)
นางสาวอัชริญา ศรีวรสาร คณะพยาบาลศาสตร์ รหัสนิสิต 63010410025