Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
COVID-19, นางสาวยุพาภรณ์ วังสะอาด เลขที่ 62
รหัสนักศึกษา 621801065 -…
COVID-19
กิจกรรมการพยาบาล
การรักษาเพื่อบรรเทาอาการ เช่น กรณีผู้ป่วยมีไข้เมื่ออุณหภูมิร่างกายมากกว่า 37.5 องศาเซลเซียส พยาบาลเช็ดตัวระบายความร้อน ถ้าอุณหภูมิร่างกายมากกว่าหรือเท่ากับ 38.5 องศาเซลเซียส ดูแลทำ tepid sponge วัดอุณหภูมิภายหลังทำ tepid spongeแล้ว 30 นาที และให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา เช่น paracetamol
-
-
ตรวจวัดสัญญาณชีพและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดทุก 1 ชั่วโมงจนกระทั่งค่าอยู่ในระดับปกติจึงตรวจวัดทุก 4 ชั่วโมง หรือตามความเหมาะสม
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
สาเหตุ
เชื้อก่อโรค : เชื้อไวรัสโคโรน่า (CoVs) เป็นไวรัสชนิดอาร์เอ็นเอสายเดี่ยว (single stranded RNA virus) ใน Family Coronaviridae มีรายงานการพบเชื้อมาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1965 โดยสามารถติดเชื้อได้ทั้งในคนและ สัตว์ เช่น หนู ไก่ วัว ควาย สุนัข แมว กระต่าย และสุกร ประกอบด้วยชนิดย่อยหลายชนิดและทำให้มีอาการ แสดงในระบบต่างๆ เช่น ระบบทางเดินหายใจ (รวมถึงโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือซาร์ส; SARS CoV) ระบบทางเดินอาหาร ระบบประสาท หรือระบบอื่นๆ
การกำเนิดโรค
- ผู้ป่วยกลุ่มแรกพบที่ตลาดขายอาหารทะเลและสัตว์ที่ยังมีชีวิต เมืองอู่ฮั่นประเทศจีน
- เป็นไวรัสที่ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบ มีได้ทั้งแบบมีอาการแบบเฉียบพลันและปอดอักเสบ และไม่มีอาการ
- มีระยะฟักตัวประมาณ 2-7 วัน
- การเฝ้าสังเกตอาการหลังสัมผัสโรคหรือจากแหล่งระบาดคือ 14 วัน วิธีการแพร่โรค แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กับสารคัดหลั่งจากทางเดินหายใจ หรือแพร่กระจายเชื้อจากฝอยละอองน้ำมูก น้ำลาย (Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเชื้อโดยการ ไอ หรือจาม
-
การรักษา
- Confirmed case ไม่มีอาการ
-
- Confirmed case with mild symptoms and no risk
-
-
เมื่ออาการดีภาพรังสีปอดปกติขึ้น พิจารณาให้พักที่รพ. เฉพาะอย่างน้อย 14 วันสวมหน้ากากอนามัยระวังสุขภาพจนครบ 1 เดือน
-
- Confirmed case with mild symptoms and risk
-
-
- Confirmed case with Pneumonia
-
วิธีการแพร่โรค
แพร่กระจายเชื้อจากการสัมผัส (Contact) กับสารคัดหลัง จากทางเดินหายใจ หรือแพรก่ ระจายเชื้อจากฝอยละออง น้ำมูก น้ำลาย(Droplet) จากผู้ป่วยที่มีเชื้อ โดยการ ไอ หรือจาม
-
-
-