Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 15 การก่อสร้างแบบวัสดุผสม, นายจีรศักดิ์ จอมธรรม 6060739 …
บทที่ 15 การก่อสร้างแบบวัสดุผสม
ข้อได้เปรียบของการก่อสร้างแบบวัสดุผสม
การใช้ประโยชน์จากกำลังรับแรงอัดของคอนกรีตที่มีค่าสูงโดยทำให้ส่วนใหญ่ของพื้นท่รับแรงอัด ในวลาเดียวกันก็เก็บเนื้อที่ส่วนใหญ่ของเหล็กให้รับแรงดึง
การมีความลึกพื้นที่น้อยกว่าซึ่งมีความสำคัญมากสำหรับอาคารสูง ความลึกที่ลดลงของพื้นที่ทำให้ความสูงของอาคารลดลงทำให้ค่าใช้จ่ายลดลง
ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการค้ำยัน
นอกเหนือไปจากเหตุผลทางด้านเศรษฐศาสร์แล้ว การใช้ค้ำยันค่อนข้างเสี่ยงโดยเฉพาะเมื่อมีการทรุดตัวขอค้ำยัน
กำลัประลัยของหน้าตัดวัสดุผสมที่มีขนาดเท่ากันจะมีกำลังเท่ากันไม่ว่าะทำการคำยันหรือไม่ ถ้าใช้คานที่เบากว่าเนื่องจากมีค่ำยันช่วยกำลังประลัยจะมีค่าน้อยลง
หลังจากที่คอนกรีตแข็งตัวและถอดค้ำยันออก พื้นจะมีพฤติกรรมวัสดุผสมในการรองรับน้หนักบรรทุกคงที่โดยจะรับแรงอัดโดย้ำหนักบรรทุกถาวรเหล่านี้ซึ่งจะเกิดความคืบและการหดตัวค่อย้างมากในแนวขนานกับคาน
ความกว้างประสิทธิผลของปีกคาน
การประมาณว่าส่วนของพื้นที่ทำหน้าที่เป็นส่วนหนึ่งของคานมีมากเท่าใด? ถ้าคานอยูใกล้กันหน่วยแรงดัดในพื้นจะแผ่กระจายค่อนข้างสม่ำเสมอ
หนึ่งในแปดของช่วงคานวัดจากศูนย์กลางของจุดรองรับ
ครึ่งหนึ่งของระยะระหว่างคาน
ระยะระหว่างคานถึงขอบพื้น
การคำนวณหน่วยแรงสำหรับหน้าตัดวัสดุผสมที่ไม่มีคอนกรีตหุ้ม
เพื่อที่จะคำนวณหน่วยแรงคุณสมบัติของหน้าตัดวัสดุผสมจะถูกคำนวณโดยวิธีหน้าตัดแปลง
ในกระบวนการแปลงหน้าตัดคอนกรีตและเหล็กจะถูกสมมุติให้ยึดติดกันอย่างแน่นหนาเพื่อให้ความเครียดที่ระยะจากแกนสะเทินเดียวกันมีค่าเท่ากัน
การถ่ายเทแรงเฉือน
แรงเฉือนตามความยาวสามารถถ่ายเระหว่างเหล็กแลคอนกรีตโดยแงยึดเหนี่ยวตามธรรชาติเมื่อคานถูกห่อหุ้ม
การแอ่นตัว
การแอ่นตัวของคานวัสดุผสมอาจทำให้ได้โดยใช้วิธีเดียวกับคานชนิดอื่นแต่ต้องระวังในการคำนวณการแอ่นตัวที่เกิดจากน้ำหนักบรรทุกหลากรณีแยกกัน
สัดส่วนของหน้าตัดวัสดุผสม
สำหรับโครงอาคารเหล็กการก่อสร้างแบบวัสดุผสมจะประหยัด เมื่อช่วงคานอยู่ระหว่าง 7.5-15 เมตร
นายจีรศักดิ์ จอมธรรม 6060739
นายเจษฎา สำลี 60360814
นายศิวกร โป้แล 60364706
นายพัฒนธร ทองทา 60363280